วันศุกร์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2552
ธรรมทาน
สัพพะทานัง ธัมมะทานัง ชินาติ
การให้ธรรมะเป็นทาน ชนะการให้ทั้งปวง
0อันกาลเวลาวารีืี่ล่วงแล้ว ไม่ผ่านแผ้ววกวับกลับมาหา
ควรรีบทำความเพียรเวียนเวลา ในวันนี้แหละหนาอย่ารามือ
0เร็วเข้าเถิดเพื่อนเอ๋ยอย่ารอช้า เร่งรีบคว้าพระธรรมประจำจิต
ทุกนาทีผ่านไปใยไม่คิด ว่าชีชีวิตจะตายใกล้แล้วเอย....
(ขุ.ชา.ทุก.27/95)
เพื่อนนั้นสำคัญไฉน
-ถ้าท่านมีทาสอยู่คนเดียว และให้บุตรของท่านหมกมุ่นอยู่กับทาสตลอดเวลาแล้ว
ในไม่ช้าท่านจะมีทาส 2 คน ~สุภาษิตกรีกโบราณ
-ถ้าท่านอยู่ในหมู่สุนัขไปนานๆ ในไม่ช้าท่านจะหอนเป็น ~สุภาษิตสเปน
-ยัง เว เสวติ ตาทิโส คบคนเช่นใดมักเป็นคนเช่นนั้น ~พุทธภาษิต
0คบคนพาลพาลพาไปหาผิด คบบัณฑิตบัณฑิตพาไปหาผล
คบคนชั่วพาตัวให้ยากจน จะคบคนต้องพินิจเพ่งพิศดู
0คบเพื่อนดีมีหนึ่งถึงจะน้อย ดีกว่าร้อยเพื่อนคิดริษยา
เหมือนมีน้ำจืดนิดหน่อยด้อยราคา ยังดีกว่าน้ำเค็มเต็มทะเล
......ชีวิตนี้น้อยนักแต่ชีวิตนี้สำคัญนักเป็นหัวเลี้ยวหัวต่อ เป็นทางแยกจะไปสูงไปต่ำ
จะไปดีหรือไปร้าย เลือกได้ในชีวิตเท่านั้น พึงสํานึกข้อนี้ให้จงดี แล้วจงเลือกเถิด
เลือกให้ดีเถิด
0 จากหนังสือ.ชีวิตนี้สำคัญนัก สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช
สกลมหาสังฆปรินายก
อย่าจองเวร
0 เวรคือการเป็นศัตรูคู่อาฆาต เวรนี้อาจทำให้ไร้ความสุข
เวรอาจพาคนเราให้เข้าคุก เวรก่อทุกข์อย่างยิ่งทั้งหญิงและชาย
0 เวรไม่ดีหนีไปให้ไกลสุด เวรเมื่อหยุดผลดีมีมากหลาย
เวรระงับดับสนิทจิตสบาย เวรจะหายก็ต้องไม่จองเวร
0 บุญคุณต้องทดแทน แค้นให้อภัย
0 ถ้าผูกใจเจ็บ จะเจ็บใจเรา
0 ถ้าเมตตาเขา ใจเราสบาย
( บทความของพระเทพกวี)
0.ใครจะชั่วมัวเมาช่างเขาเถิด เราอย่าเิกิดเห็นงามไปตามเขา
วัวจะเข้าคอกใครใช่คอกเรา ควรจจะเอาใจตรวจสำรวจตน
สิ่งที่มนุษย์ชอบลืม
0สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นล้วนมีความดับไปเป็นธรรมดา
0เราเกิดมาจากไหนใครไม่รู้ จะไปสู่แห่งไหนใครไม่เห็น
จะตายเช้าสายบ่ายหรือเย็น ไม่มีเว้นทุึกคนจนปัญญา
0ชีวิตของสัตว์เหมือนภาชนะดิน ซึ่งล้วนมีความสลายเป็นที่สุด
0จะซ่อนในกลีบเมฆกลางเวหา ซ่อนกายากลางสมุทรสุดวิสัย
จะซ่อนตัวกลางเขาลำเนาภัย ณ.ถิ่นใดพ้นตายนั้นไม่มี
0ถึงมีฤทธิ์ศักดิ์สามารถ ยกปราสาทเวชยันต์ก็หวั่นไหว
ทั้งดำดินบินฟ้านภาลัย รู้เท่าไหร่ก็ไม่รอดคงวอดวาย
0โอ้ร่างกายของเรามันเน่าแน่ ไม่มีแปรเปลี่ยนผันหันไฉน
ต้องรู้ตัวเสมออย่าเผลอใจ สิ่งใดดีควรทำรีบจ้ำเอย
มนุษย์คิดมากเกินจำเป็น
มนุษย์มีสติปัญญามาก ก็เลยคิดมาก คิดมากจนเกินจำเป็นกลายเป็นนักคิด
ถ้าคิดไปไม่ถูกทาง มันก็เพ้อเจ้อ คิดจนตาย แล้วตายอีก มันไม่พบจุดจบของความทุกข์
เราต้องรู้จักสิ่งที่จะเอามาคิด วัตถุสำหรับคิด คือสิ่งที่จะเอามาคิด แล้วต้องรู้จักวิธีคิด
มันถึงจะไปสู่จุดจบของปัญหา หรือจุดจบของความทุกข์
คำว่า เป็นทาสของความคิด ภาษาทางศาสนามีมากเขารู้จักกันดี และเขากลัวมัน กลัวที่จะตกเป็นทาสของความคิด ซึ่งจะทำให้เสียเวลา หรือ ตายเปล่าก็ได้
จากหนังสือความจริงแห่งชีวิต ของพระธรรมปิฎก
วันพุธที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2552
ศิลปะแห่งการครองใจคน
และนำคนแข็งกระด้างมาใช้ได้
แต่....คนแข็งกระด้างไม่สามารถนำคนอ่อนโยนมาใช้ได้เลย
0 มนุษย์เราต้องทำหน้าที่แผ่เมตตาให้คนอื่นมีสุข
เพราะตัวเราก็ยังต้องการอย่างนั้น
จึงควรทำในสิ่งที่เราปราถนาให้ผู้อื่นบ้าง
0ถ้าเรารักและปราถนาดีต่อผู้อื่นด้วยความจริงใจ
เขาก็จะรักเราและปราถนาดีต่อเรา และไม่เกลียดเรา
แต่ถ้าเราแสดงความเกลียดต่อเขา
ผลก็คือ...เขาเกลียดตอบเรานั่นเอง
นี่หรือชีวิต
โอ้ว่าอนิจจาสังขารเอ๋ย มาลงเอยสิ้นสุดหยุดเคลื่อนไหว
เมื่อหมดหวังครั้งสุดท้ายไม่หายใจ ธาตุลมไฟน้ำดินก็สิ้นตาม
นอนตัวแข็งและสลดเมื่อหมดชีพ เขาตราสังใส่หีบสี่คนหาม
สู่ป่าช้าสิ้นเชื่อเหลือแต่นาม ใครจะถามเรียกเราก็เปล่าตาย
นี่แหละหนอมนุษย์เรามีเท่านี้ หมดลมแล้วก็ไม่มีซึ่งความหมาย
วิญญาณปราศขาดลมดับจากกาย หยุดวุ่นวายทุกสิ่งนิ่งนอนเลย
เมื่อชีวิตเรานี้มีลมอยู่ จงเร่งรู้ศีลทาน นะท่านเอ๋ย
ทั้งภาวนาทำใจหัดให้เคย อย่าละเลยความดีทุกวี่วัน
เมื่อสิ้นลมจิตพรากจากโลกนี้ จะได้พาความดีไปสวรรค์
อย่าทำบาปน้อยนิดให้ติดพัน เพราะบาปนั้นจะเป็นเงาตามเราไป
สู่นรกอเวจีที่มืดมิด สุดที่ใครจะติดตามช่วยได้
ต้องทนทุกข์สยดสยองในกองไฟ ตามแต่กรรมของผู้ใดที่ได้ทำ
หมั่นสวดมนต์ภาวนารักษาสศีล สอนลูกหลานให้เคยชินทุกค่ำเช้า
ให้รู้จักเคารพนบพระธรรม อย่าลืมคำพระสอนวอนให้ดี
เราเกิดมาเพื่อตายมิใช่อยู่ ทุกๆคนจะต้องสู่ความเป็นผี
เมื่อเกิดมาเป็นคนได้ทั้งที ก็ควรสร้างความดีติดตัวไป
เพื่อจะได้เป็นสุขไม่ทุกข์ยาก ไม่คับแค้นลำบากเมื่อเกิดใหม่่
ใครทำดีย่อมสุขแท้จงแน่ใจ ใครทำชั่วทุกข์ยากไร้ ย่อมถึงตน
เร่งบำเพ็ญทานศีลและภาวนา แสวงหาแต่สิ่งบุญกุศล
ทรัพย์ภายนอกเป็นของโลกโศกระคน ทรัพย์ภายในประดับตนพ้นทุกข์เอย
วันเสาร์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2552
คำกล่าวก่อนการนั่งสมาธิ
อิมาหัง ภันเต ภะคะวา อัตตะภาวัง ภะคะวะโต ปะริจจะชามิ
ข้าแต่สมเด็จพระผู้มรฃีพระภาคเจ้าผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอมอบกายถวายชีวิตนี้เพื่อเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า
คำอธิษฐาน
ด้วยมหากุศล ผลบุญ ที่ข้าพเจ้าได้เจริญพระกรรมฐานมานี้ ขอจงเป็นพลวะปัจจัย
เป็นอุปนิสัยตามส่ง ให้ข้าพเจ้าเกิดปัญญาญาณ ทั้งในชาตินี้และชาติหน้า ตลอดชาติอย่างยิ่ง
จนถึงความพ้นทุกข์ ได้บรรลุมรรคผล นิพพาน ในอนาคตกาลเบื้องหน้านี้เทอญ
เริ่มต้นนั่งสมาธิ
ปล่อยวางความคิดนึกเรื่องราวต่างๆ ให้หมดไปจากใจ ทำสติจับความรู้สึกอยู่ที่กายอาการสามสิบสอง ทำความรู้สึกนึกคิดเห็นว่าตัวเรานั่งอยู่อย่างไร
เรานั่งขาขวาทับขาซ้ายก็ทำความรู้ว้าเรานั่งขาขวาทับขาซ้ายเรานั่งมือขวาทับมือซ้ายก็รู้ว่าเรานั่งมือขวาทับมือซ้าย เรานั่งตัวตรงก็รู้ว่านั่งตัวตรง เรานั่งหลับตาก็รู้ว่าเราหลับตา นึกรู้เห็นตัวเราตลอดเวลา
น้อมนึกเห็นใบหน้าเราว่ามีลักษณะอย่างไร นึกตั้งแต่ศีรษะตลอดลงมาปลายเท้า นึกเห็นรอบตัวเองแล้วมาพิจารณาอยู่ที่ใบหน้า นึกเห็นคิ้วเห็นตา เห็นหูทั้งสองข้าง นึกเห็นปากเห็นคาง นึกเห็นปลายจมูก นึกเห็นลมหายใจเข้า-ออก
หายใจเข้าก็นึกรู้ว่าหายใจเข้า หายใจออกก็รู้ว่าหายใจออก หายใจออกยาวก็รู้ว่าหายใจออกยาว หายใจเข้าสั้นก็รู้ว่าหายใจเข้าสั้น หายใจเข้าสั้นและออกสั้นก็รู้ว่าขณะนี้เราหายใจเข้า-ออกสั้น ทำความรู้เท่าทันลมหายใจเข้าออก
ทุกลมหายใจเข้า-ออกทำความรู้อยู่ที่ปลายจมูกนึกเห็นใบหน้าของเราเห็นอยู่ที่ปลายจมูกทุกขณะลมหายใจเข้า-ออก กำหนดอยู่ที่สองช่องจมูก หายใจเข้านึกว่า พุท หายใจออกนึกว่า โธ จนรู้อยู่แต่ พุท-โธ ทุกลมหายใจ
เข้า-ออก นึกเห็นแต่ปลายจมูกสว่างเสมอไป
ระยะแรกนั้นการปฏิบัติพึงกำหนดลมหายใจเข้า-ออกยาวๆเพราะยังสติอ่อนอยู่ ขณะที่นั่งอยู่นั้นกายสงบก็ทำความรู้ว่า กายสงบ ใจสลงบก็ทำความรู้ว่า ใจสงบ สงบอยู่อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ทำความรู้อยู่ตลอดเวลา สุขเกิดก็รู้ ทุกข์เกิดก็รู้ ไม่สุขไม่ทุกข์เกิดขึ้นก็รู้ ทำความรู้ทั้งกายใจอยู่อย่างนี้ บางครั้งทุกข์กายแต่ใจสุขก็มี คิดดีก็รู้
รู้แล้วเฉย คิดชั่วก็รู้ รู้แล้วเฉย อะไรที่เกิดขึ้นทุกอย่าทำความเฉยให้เกดขึ้นตลอดเวลา ทำเฉยๆ ให้มากเท่าไหร่ยิ่งดี จิตจะได้ตั้งมั่นได้รวดเร็ว อยู่นานๆเข้าจิตก็เกิดสมาธิ แนบแน่นจนกายจิตเบา หากพลั้งเผลอไปก็ดึงสติกลับมาตั้งไว้จุดเดิมปฏิบัติอยู่เช่นนี้จนเป็นนิสัย ลมหายใจก็จะละเอียดประณีตกายก็เบาใจก็สบาย ในช่วงนี้หากคำภาวนา
พุท-โธ ได้ละไปแล้วก็ให้พิจารณาลมหายใจเข้าออกเพียงอย่างเดียว ( คำ พุท-โธ จะหยุดรำลึกไปเองโดยธรรมชาติอย่าหวนคำรำลึกหรือทวนความรู้สึกใดๆ ขึ้นมาอีก)เมื่อกระแสกลมกลืนกันดีแล้ว จิตก็จะนิ่งเป็นอิสระเป็นสุขและเกิดปัญญา รู้เอง เห็นเอง สัมผัสได้ด้วยจิตเอง....
อิมาหัง ภันเต ภะคะวา อัตตะภาวัง ภะคะวะโต ปะริจจะชามิ
ข้าแต่สมเด็จพระผู้มรฃีพระภาคเจ้าผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอมอบกายถวายชีวิตนี้เพื่อเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า
คำอธิษฐาน
ด้วยมหากุศล ผลบุญ ที่ข้าพเจ้าได้เจริญพระกรรมฐานมานี้ ขอจงเป็นพลวะปัจจัย
เป็นอุปนิสัยตามส่ง ให้ข้าพเจ้าเกิดปัญญาญาณ ทั้งในชาตินี้และชาติหน้า ตลอดชาติอย่างยิ่ง
จนถึงความพ้นทุกข์ ได้บรรลุมรรคผล นิพพาน ในอนาคตกาลเบื้องหน้านี้เทอญ
เริ่มต้นนั่งสมาธิ
ปล่อยวางความคิดนึกเรื่องราวต่างๆ ให้หมดไปจากใจ ทำสติจับความรู้สึกอยู่ที่กายอาการสามสิบสอง ทำความรู้สึกนึกคิดเห็นว่าตัวเรานั่งอยู่อย่างไร
เรานั่งขาขวาทับขาซ้ายก็ทำความรู้ว้าเรานั่งขาขวาทับขาซ้ายเรานั่งมือขวาทับมือซ้ายก็รู้ว่าเรานั่งมือขวาทับมือซ้าย เรานั่งตัวตรงก็รู้ว่านั่งตัวตรง เรานั่งหลับตาก็รู้ว่าเราหลับตา นึกรู้เห็นตัวเราตลอดเวลา
น้อมนึกเห็นใบหน้าเราว่ามีลักษณะอย่างไร นึกตั้งแต่ศีรษะตลอดลงมาปลายเท้า นึกเห็นรอบตัวเองแล้วมาพิจารณาอยู่ที่ใบหน้า นึกเห็นคิ้วเห็นตา เห็นหูทั้งสองข้าง นึกเห็นปากเห็นคาง นึกเห็นปลายจมูก นึกเห็นลมหายใจเข้า-ออก
หายใจเข้าก็นึกรู้ว่าหายใจเข้า หายใจออกก็รู้ว่าหายใจออก หายใจออกยาวก็รู้ว่าหายใจออกยาว หายใจเข้าสั้นก็รู้ว่าหายใจเข้าสั้น หายใจเข้าสั้นและออกสั้นก็รู้ว่าขณะนี้เราหายใจเข้า-ออกสั้น ทำความรู้เท่าทันลมหายใจเข้าออก
ทุกลมหายใจเข้า-ออกทำความรู้อยู่ที่ปลายจมูกนึกเห็นใบหน้าของเราเห็นอยู่ที่ปลายจมูกทุกขณะลมหายใจเข้า-ออก กำหนดอยู่ที่สองช่องจมูก หายใจเข้านึกว่า พุท หายใจออกนึกว่า โธ จนรู้อยู่แต่ พุท-โธ ทุกลมหายใจ
เข้า-ออก นึกเห็นแต่ปลายจมูกสว่างเสมอไป
ระยะแรกนั้นการปฏิบัติพึงกำหนดลมหายใจเข้า-ออกยาวๆเพราะยังสติอ่อนอยู่ ขณะที่นั่งอยู่นั้นกายสงบก็ทำความรู้ว่า กายสงบ ใจสลงบก็ทำความรู้ว่า ใจสงบ สงบอยู่อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ทำความรู้อยู่ตลอดเวลา สุขเกิดก็รู้ ทุกข์เกิดก็รู้ ไม่สุขไม่ทุกข์เกิดขึ้นก็รู้ ทำความรู้ทั้งกายใจอยู่อย่างนี้ บางครั้งทุกข์กายแต่ใจสุขก็มี คิดดีก็รู้
รู้แล้วเฉย คิดชั่วก็รู้ รู้แล้วเฉย อะไรที่เกิดขึ้นทุกอย่าทำความเฉยให้เกดขึ้นตลอดเวลา ทำเฉยๆ ให้มากเท่าไหร่ยิ่งดี จิตจะได้ตั้งมั่นได้รวดเร็ว อยู่นานๆเข้าจิตก็เกิดสมาธิ แนบแน่นจนกายจิตเบา หากพลั้งเผลอไปก็ดึงสติกลับมาตั้งไว้จุดเดิมปฏิบัติอยู่เช่นนี้จนเป็นนิสัย ลมหายใจก็จะละเอียดประณีตกายก็เบาใจก็สบาย ในช่วงนี้หากคำภาวนา
พุท-โธ ได้ละไปแล้วก็ให้พิจารณาลมหายใจเข้าออกเพียงอย่างเดียว ( คำ พุท-โธ จะหยุดรำลึกไปเองโดยธรรมชาติอย่าหวนคำรำลึกหรือทวนความรู้สึกใดๆ ขึ้นมาอีก)เมื่อกระแสกลมกลืนกันดีแล้ว จิตก็จะนิ่งเป็นอิสระเป็นสุขและเกิดปัญญา รู้เอง เห็นเอง สัมผัสได้ด้วยจิตเอง....
วันพุธที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2552
บทสวดพาหุงมหากา
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
๑. พุทธคุณ อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะ สัมปันโน สุคะโต โลกะวิทูอนุตตะโร ปุริสะธัมมะสาระถิ สัตถาเทวมนุสสานัง พุทโธภะคะวาติ
๒. ธรรมคุณ สวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตังเวทิตัพโพ วิญญูหิติ
๓. สังฆคุณ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆสามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทังจัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆอาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ
๔. พุทธชัยมงคลคาถา (ถวายพรพระ)
๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ
๒. มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ
๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ
๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโย ชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ
๕. กัตตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ
๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ
๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ
๘. ทุคคาหะ ทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถาโย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ
* ถ้าสวดให้คนอื่นใช้คำว่า เต สวดให้ตัวเองใช้คำว่า เม (เต แปลว่าท่าน - เม แปลว่าข้าพเจ้า)
๕. มหาการุณิโก
มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะ จารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต*ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต* ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต* * ถ้าสวดให้คนอื่นใช้คำว่า เต สวดให้ตัวเองใช้คำว่า เม (เต แปลว่าท่าน - เม แปลว่าข้าพเจ้า)
กราบ ๓ ครั้ง เสร็จแล้วสวดเฉพาะพุทธคุณ ดังต่อไปนี้
อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชา จาระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทูอะนุตตะโร ปุริสะทัม มะสาระถิ สัตถาเทวะ มะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ
ให้สวดพุทธคุณเกินอายุ ๑ จบ เช่น อายุ ๒๘ ปี ให้สวด ๒๙ จบ เมื่อสวดพุทธคุณครบตามจำนวนจบที่ต้องการแล้ว จึงตั้งจิตแผ่เมตตาและอุทิศส่วนกุศลดังนี้
คาถาแผ่เมตตาตนเอง
อะหัง สุขิโต โหมิ ขอให้ข้าพเจ้ามีความสุข อะหัง นิททุกโข โหมิ ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากความทุกข์ อะหัง อะเวโร โหมิ ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากเวร อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากอุปสรรคอันตรายทั้งปวง สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ ขอให้ข้าพเจ้าจงมีความสุขกายสุขใจ รักษากายวาจาใจให้พันจากความทุกข์ภัยทั้งปวงเถิด
แผ่เมตตาให้สรรพสัตว์ สัพเพสัตตา สัตว์ทั้งหลาย ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น อะเวรา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย อัพยาปัชฌา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้พยาบาทเบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย อนีฆา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิดฯ
บทกรวดน้ำ (อุทิศส่วนกุศล) อิทัง เม มาตาปิตูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตาปิตะโร - ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่มารดาบิดาของข้าพเจ้า ขอให้มารดาบิดาของข้าพเจ้า จงมีความสุข อิทัง เม ญาตินัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย - ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอให้ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า จงมีความสุข อิทัง เม คุรูปัชฌายาจริยานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ คุรูปัชฌายาจริยา - ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แด่ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้า ขอให้ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ จงมีความสุข อิทัง สัพพะ เทวะตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เทวา - ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เทวดาทั้งหลาย ขอให้เทวดาทั้งหลายจงมีความสุข อิทัง สัพพะเปตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เปตา - ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่เปรตทั้งหลาย ขอให้เปรตทั้งหลาย จงมีความสุข อิทัง สัพพะ เวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเวรี - ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย ขอให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย จงมีความสุข อิทัง สัพพะสัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพสัตตา - ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
๑. พุทธคุณ อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะ สัมปันโน สุคะโต โลกะวิทูอนุตตะโร ปุริสะธัมมะสาระถิ สัตถาเทวมนุสสานัง พุทโธภะคะวาติ
๒. ธรรมคุณ สวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตังเวทิตัพโพ วิญญูหิติ
๓. สังฆคุณ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆสามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทังจัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆอาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ
๔. พุทธชัยมงคลคาถา (ถวายพรพระ)
๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ
๒. มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ
๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ
๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโย ชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ
๕. กัตตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ
๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ
๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ
๘. ทุคคาหะ ทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถาโย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ
* ถ้าสวดให้คนอื่นใช้คำว่า เต สวดให้ตัวเองใช้คำว่า เม (เต แปลว่าท่าน - เม แปลว่าข้าพเจ้า)
๕. มหาการุณิโก
มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะ จารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต*ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต* ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต* * ถ้าสวดให้คนอื่นใช้คำว่า เต สวดให้ตัวเองใช้คำว่า เม (เต แปลว่าท่าน - เม แปลว่าข้าพเจ้า)
กราบ ๓ ครั้ง เสร็จแล้วสวดเฉพาะพุทธคุณ ดังต่อไปนี้
อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชา จาระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทูอะนุตตะโร ปุริสะทัม มะสาระถิ สัตถาเทวะ มะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ
ให้สวดพุทธคุณเกินอายุ ๑ จบ เช่น อายุ ๒๘ ปี ให้สวด ๒๙ จบ เมื่อสวดพุทธคุณครบตามจำนวนจบที่ต้องการแล้ว จึงตั้งจิตแผ่เมตตาและอุทิศส่วนกุศลดังนี้
คาถาแผ่เมตตาตนเอง
อะหัง สุขิโต โหมิ ขอให้ข้าพเจ้ามีความสุข อะหัง นิททุกโข โหมิ ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากความทุกข์ อะหัง อะเวโร โหมิ ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากเวร อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากอุปสรรคอันตรายทั้งปวง สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ ขอให้ข้าพเจ้าจงมีความสุขกายสุขใจ รักษากายวาจาใจให้พันจากความทุกข์ภัยทั้งปวงเถิด
แผ่เมตตาให้สรรพสัตว์ สัพเพสัตตา สัตว์ทั้งหลาย ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น อะเวรา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย อัพยาปัชฌา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้พยาบาทเบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย อนีฆา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิดฯ
บทกรวดน้ำ (อุทิศส่วนกุศล) อิทัง เม มาตาปิตูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตาปิตะโร - ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่มารดาบิดาของข้าพเจ้า ขอให้มารดาบิดาของข้าพเจ้า จงมีความสุข อิทัง เม ญาตินัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย - ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอให้ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า จงมีความสุข อิทัง เม คุรูปัชฌายาจริยานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ คุรูปัชฌายาจริยา - ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แด่ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้า ขอให้ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ จงมีความสุข อิทัง สัพพะ เทวะตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เทวา - ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เทวดาทั้งหลาย ขอให้เทวดาทั้งหลายจงมีความสุข อิทัง สัพพะเปตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เปตา - ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่เปรตทั้งหลาย ขอให้เปรตทั้งหลาย จงมีความสุข อิทัง สัพพะ เวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเวรี - ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย ขอให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย จงมีความสุข อิทัง สัพพะสัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพสัตตา - ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข
คาถาชินบัญชร โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) เริ่มสวด นโม 3 จบ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะนะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
· ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตังสุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ
· เริ่มบทพระคาถาชินบัญชร
1. ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตวา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
2. ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
3. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
4. หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณโกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
5. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโลกัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
6. เกสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโรนิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว
7. กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโกโส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
8. ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลีเถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
9. เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกาเอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสาชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
10. ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกังธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง
11. ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา
12. ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตาวาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
13. อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสาวะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
14. ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
15. อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโขชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโวธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆสังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโยสัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.
คำแปล
2. พระพุทธเจ้าและพระนราสภาทั้งหลาย ผู้ประทับนั่งแล้วบนชัยบัลลังก์ ทรงพิชิตพระยามาราธิราชผู้พรั่งพร้อมด้วยเสนาราชพาหนะแล้ว เสวยอมตรสคืออริยะสัจธรรมทั้งสี่ประการ เป็นผู้นำสรรพสัตว์ให้ข้ามพ้นจากกิเลสและกองทุกข์
3. มี ๒๘ พระองค์คือ พระผู้ทรงพระนามว่า ตัณหังกรเป็นต้น พระพุทธเจ้าผู้จอมมุนีทั้งหมดนั้น
4. ข้าพระพุทธเจ้าขออัญเชิญมาประดิษฐานเหนือเศียรเกล้าองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประดิษฐานอยู่บนศีรษะพระธรรมอยู่ที่ดวงตาทั้งสอง พระสงฆ์ผู้เป็นอากรบ่อเกิดแห่งสรรพคุณอยู่ที่อก
5. พระอนุรุทธะอยู่ที่ใจพระสารีบุตรอยู่เบื้องขวาพระโมคคัลลาน์อยู่เบื้องซ้าย พระอัญญาโกณทัญญะอยู่เบื้องหลัง
6. พระอานนท์กับพระราหุลอยู่หูขวาพระกัสสะปะกับพระมหานามะอยู่ที่หูซ้าย
7. มุนีผู้ประเสริฐคือพระโสภิตะผู้สมบูรณ์ด้วยสิริดังพระอาทิตย์ส่องแสงอยู่ที่ทุกเส้นขน ตลอดร่างทั้งข้างหน้าและข้างหลัง
8. พระเถระกุมาระกัสสะปะผู้แสวงบุญทรงคุณอันวิเศษ มีวาทะอันวิจิตรไพเราะอยู่ปากเป็นประจำ
9. พระปุณณะ พระอังคุลิมาล พระอุบาลี พระนันทะ และพระสีวะลี พระเถระทั้ง ๕ นี้ จงปรากฏเกิดเป็นกระแจะจุณเจิมที่หน้าผาก
10. ส่วนพระอสีติมหาเถระที่เหลือผู้มีชัยและเป็นพระโอรสเป็นพระสาวกของพระพุทธเจ้าผู้ทรงชัย แต่ละองค์ล้วน รุ่งเรืองไพโรจน์ด้วยเดชแห่งศีลให้ดำรงอยู่ทั่วอวัยวะน้อยใหญ่
11. พระรัตนสูตรอยู่เบื้องหน้าพระเมตตาสูตรอยู่เบื้องขวาพระอังคุลิมาลปริตรอยู่เบื้องซ้าย พระธชัคคะสูตรอยู่เบื้องหลัง
12. พระขันธปริตร พระโมรปริตร และพระอาฏานาฏิยสูตร เป็นเครื่องกางกั้นดุจหลังคาอยู่บนนภากาศ
13. อนึ่งพระชินเจ้าทั้งหลาย นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ ผู้ประกอบพร้อมด้วยกำลังนานาชนิด มีศีลาทิคุณอันมั่นคงสัตตะปราการเป็นอาภรณ์มาตั้งล้อมเป็นกำแพงคุ้มครองเจ็ดชั้น
14. ด้วยเดชานุภาพแห่งพระอนันตชินเจ้าไม่ว่าจะทำกิจการใดๆ เมื่อข้าพระพุทธเจ้าเข้าอาศัยอยู่ในพระบัญชรแวดวงกรงล้อม แห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอโรคอุปัทวะทุกข์ทั้งภายนอกและภายใน อันเกิดแต่โรคร้าย คือ โรคลมและโรคดีเป็นต้น เป็นสมุฏฐานจงกำจัดให้พินาศไปอย่าได้เหลือ
15. ขอพระมหาบุรุษผู้ทรงพระคุณอันล้ำเลิศทั้งปวงนั้น จงอภิบาลข้าพระพุทธเจ้า ผู้อยู่ในภาคพื้น ท่ามกลางพระชินบัญชร ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการคุ้มครองปกปักรักษาภายในเป็นอันดีฉะนี้แล
16. ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการอภิบาลด้วยคุณานุภาพแห่งสัทธรรม จึงชนะเสียได้ซึ่งอุปัทวอันตรายใดๆ ด้วยอานุภาพแห่งพระชินะพุทธเจ้า ชนะข้าศึกศัตรูด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ชนะอันตรายทั้งปวงด้วยอานุภาพ แห่งพระสงฆ์ ขอข้าพระพุทธเจ้าจงได้ปฏิบัติ และรักษาดำเนินไปโดยสวัสดีเป็นนิจนิรันดรเทอญฯ
· ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตังสุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ
· เริ่มบทพระคาถาชินบัญชร
1. ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตวา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
2. ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
3. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
4. หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณโกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
5. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโลกัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
6. เกสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโรนิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว
7. กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโกโส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
8. ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลีเถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
9. เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกาเอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสาชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
10. ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกังธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง
11. ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา
12. ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตาวาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
13. อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสาวะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
14. ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
15. อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโขชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโวธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆสังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโยสัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.
คำแปล
2. พระพุทธเจ้าและพระนราสภาทั้งหลาย ผู้ประทับนั่งแล้วบนชัยบัลลังก์ ทรงพิชิตพระยามาราธิราชผู้พรั่งพร้อมด้วยเสนาราชพาหนะแล้ว เสวยอมตรสคืออริยะสัจธรรมทั้งสี่ประการ เป็นผู้นำสรรพสัตว์ให้ข้ามพ้นจากกิเลสและกองทุกข์
3. มี ๒๘ พระองค์คือ พระผู้ทรงพระนามว่า ตัณหังกรเป็นต้น พระพุทธเจ้าผู้จอมมุนีทั้งหมดนั้น
4. ข้าพระพุทธเจ้าขออัญเชิญมาประดิษฐานเหนือเศียรเกล้าองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประดิษฐานอยู่บนศีรษะพระธรรมอยู่ที่ดวงตาทั้งสอง พระสงฆ์ผู้เป็นอากรบ่อเกิดแห่งสรรพคุณอยู่ที่อก
5. พระอนุรุทธะอยู่ที่ใจพระสารีบุตรอยู่เบื้องขวาพระโมคคัลลาน์อยู่เบื้องซ้าย พระอัญญาโกณทัญญะอยู่เบื้องหลัง
6. พระอานนท์กับพระราหุลอยู่หูขวาพระกัสสะปะกับพระมหานามะอยู่ที่หูซ้าย
7. มุนีผู้ประเสริฐคือพระโสภิตะผู้สมบูรณ์ด้วยสิริดังพระอาทิตย์ส่องแสงอยู่ที่ทุกเส้นขน ตลอดร่างทั้งข้างหน้าและข้างหลัง
8. พระเถระกุมาระกัสสะปะผู้แสวงบุญทรงคุณอันวิเศษ มีวาทะอันวิจิตรไพเราะอยู่ปากเป็นประจำ
9. พระปุณณะ พระอังคุลิมาล พระอุบาลี พระนันทะ และพระสีวะลี พระเถระทั้ง ๕ นี้ จงปรากฏเกิดเป็นกระแจะจุณเจิมที่หน้าผาก
10. ส่วนพระอสีติมหาเถระที่เหลือผู้มีชัยและเป็นพระโอรสเป็นพระสาวกของพระพุทธเจ้าผู้ทรงชัย แต่ละองค์ล้วน รุ่งเรืองไพโรจน์ด้วยเดชแห่งศีลให้ดำรงอยู่ทั่วอวัยวะน้อยใหญ่
11. พระรัตนสูตรอยู่เบื้องหน้าพระเมตตาสูตรอยู่เบื้องขวาพระอังคุลิมาลปริตรอยู่เบื้องซ้าย พระธชัคคะสูตรอยู่เบื้องหลัง
12. พระขันธปริตร พระโมรปริตร และพระอาฏานาฏิยสูตร เป็นเครื่องกางกั้นดุจหลังคาอยู่บนนภากาศ
13. อนึ่งพระชินเจ้าทั้งหลาย นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ ผู้ประกอบพร้อมด้วยกำลังนานาชนิด มีศีลาทิคุณอันมั่นคงสัตตะปราการเป็นอาภรณ์มาตั้งล้อมเป็นกำแพงคุ้มครองเจ็ดชั้น
14. ด้วยเดชานุภาพแห่งพระอนันตชินเจ้าไม่ว่าจะทำกิจการใดๆ เมื่อข้าพระพุทธเจ้าเข้าอาศัยอยู่ในพระบัญชรแวดวงกรงล้อม แห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอโรคอุปัทวะทุกข์ทั้งภายนอกและภายใน อันเกิดแต่โรคร้าย คือ โรคลมและโรคดีเป็นต้น เป็นสมุฏฐานจงกำจัดให้พินาศไปอย่าได้เหลือ
15. ขอพระมหาบุรุษผู้ทรงพระคุณอันล้ำเลิศทั้งปวงนั้น จงอภิบาลข้าพระพุทธเจ้า ผู้อยู่ในภาคพื้น ท่ามกลางพระชินบัญชร ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการคุ้มครองปกปักรักษาภายในเป็นอันดีฉะนี้แล
16. ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการอภิบาลด้วยคุณานุภาพแห่งสัทธรรม จึงชนะเสียได้ซึ่งอุปัทวอันตรายใดๆ ด้วยอานุภาพแห่งพระชินะพุทธเจ้า ชนะข้าศึกศัตรูด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ชนะอันตรายทั้งปวงด้วยอานุภาพ แห่งพระสงฆ์ ขอข้าพระพุทธเจ้าจงได้ปฏิบัติ และรักษาดำเนินไปโดยสวัสดีเป็นนิจนิรันดรเทอญฯ
ธัมมะจักกัปปะวัตตะนะสุตตัง........
เอวัมเม สุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา พาราณะสิยัง วิหะระติ อิสิปะตะเน มิคะทาเย ตัตระ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ เทวเม ภิกขะเว อันตา ปัพพะชิเตนะ นะ เสวิตัพพา โย จายัง กาเมสุ กามะสุขัลลิกานุโยโค หีโน คัมโม โปถุชชะนิโก อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต โย จายัง อัตตะกิละมะถานุโยโค ทุกโข อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต ฯ เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต อะนุปะคัมมะ มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติฯ........ กะตะมา จะ สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถา คะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ เสยยะถีทัง ฯ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ ฯ อะยัง โข สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิ สัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ........ อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยัะสัจจัง ชาติปิ ทุกขะ ชะราปิ ทุกขา มะระณัมปิ ทุกขัง โสกะปะริเทวะ ทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขังสังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกยา ฯ อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเวทุกขะสะมุมะโย อะริยะสัจจัง ฯ ยายัง ตัณหา โปโนพภะวิกานันทิราคะสะหะคะตา ตัตระ ตัตราภิ นันทินี ฯ เสยยะถีทัง ฯ กามะตัณหา ภะวะตัณหา วิภะวะตัณหา ฯ อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจังฯ โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ อะเสสะวิราคะ นิโรโธ จาโค ปะฏินิสสัคโค มุตติ อะนาละโย ฯ อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ฯ อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ เสยยะถีทัง ฯ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ ฯ........ อิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทพปาทิ ญาณัง อุทะปาทิปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญเญยยันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิฯ ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญญาตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ฯ ........ อิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโกอุทะปาทิ ฯ ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทมะโย อะริยะสัจจัง ปะหาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทมะโย อะริยะสัจจัง ปะหีนันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ........ อิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ฯ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโกอุทะปาทิ ฯ ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจจิกาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจจิกะตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ........ อิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิฯ ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริสัจจัง ภาเวตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาวิตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ........ ยาวะกีวัญจะ เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติ ปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง นะ สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ เนวะ ตาวาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ ยะโต จะ โข เมเม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติ ปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ อะถาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะ มะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ ญาณัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง ปุทะปาทิอะกุปปา เม วิมุตติ อะยะมันติมา ชาติ นัตถิทานิปุนัพภะโวติ ฯ อิทะมะโว จะ ภะคะวาฯ อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิยา ภิขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง ฯ อิมัสมิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัสมิ ภัญญะมาเน อายัสมะโต โกณฑัญญัสสะ วิระชัง วีตะมะลัง ธัมมะจักขุง อุทะปาทิ ยังกิญจิ สุมุทะยะธัมมัง สัพพันตัง นิโรธะธัมมันติ ฯ........ ปะวัตติเต จะ ภะคะวะตา ธัมมะจักเก ภุมมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยังบ อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะวา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิวา โลกัสมินติ ฯ........ ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯจาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ยามานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา พรัหมะปาริสัชชา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ พรัหมะปาริสัชชานัง เทวานัง สัททัง สุตวา พรัหมะปะโรหิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ พรัหมะปะโรหิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา มะหาพรัหมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ มะหาพรัหมานัง เทวานัง สัททังสุตวา ปะริตตาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ปะริตตาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อัปปะมาณาภา เทวา สัททะมะนุสสา เวสุง ฯ อัปปะมาณาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อาภัสสะรา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อาภัสสะรานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ปะริตตะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ปะริตตะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อัปปะมาณะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อัปปะมาณะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา สุภะกิณหะกา เทวา สัททะ มะนุสสาเวสุง ฯ สุภะกิณหะกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา เวหัปผะลา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ เวหัปผะลานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อะวิหา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อะวิหานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อะตัปปา เทวา สัททะมะนุสสา เวสุง ฯ อะตัปปานัง เทวานัง สัททัง สุตวา สุทัสสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ สุทัสสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา สุทัสสี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ สุทัสสีนัง เทวานัง สัททัง สุตวาอะกะนิฏฐะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิ วัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสมินติ ฯ........ อิติหะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ มุหุตเตนะ ยาวะ พรัหมะโลกา สัทโท อัพภุคคัจฉิฯ อะยัญจะ ทะสะสะหัสสี โลกะธาตุ สังกัมปิ สัมปะกัมปิ สัมปะเวธิฯ อัปปะมาโณ จะ โอฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุระโหสิ อะติกกัมเมวะ เทวานัง เทวานุภาวัง ฯ อะถะโข ภะคะวาอุทานัง อุทาเนสิ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญ อัญญาสิวะตะ โภ โกณฑัญโญติ อิติหิทัง อายัสมะโต โกณฑัญญัสสะ อัญญาโกณฑัญโญ เตววะ นามัง อะโหสีติ ฯ
เอวัมเม สุตัง เอกัง สะมะยัง ภะคะวา พาราณะสิยัง วิหะระติ อิสิปะตะเน มิคะทาเยฯ ข้าพเจ้าได้ฟังจากพระผู้มีพระภาคเจ้าอย่างนี้ว่า ในสมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จประทับยับยั้งอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวันใกล้เมืองพาราณสี ฯ
ตัตระ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ ฯ ในกาลครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสเตือนสติเหล่าภิกษุปัญจวัคคีย์ให้ตั้งใจฟังและพิจารณาตามพระดำรัสของพระองค์อย่างนี้ว่า ฯ
เทวเม ภิกขะเว อันตา ปัพพะชิเตนะ นะ เสวิตัพพา ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บรรพชิตไม่ควรปฏิบัติให้หนักไปในส่วนที่สุด ๒ อย่าง คือ
โย จายัง กาเมสุ กามะสุขัลลิกานุโยโค หีโน (ถ้ามีการตรวจคำหยาบ..ตรงนี้ให้ออกเสียงว่า ฮีโน..นะครับ) คัมโม โปถุชชะนิโก อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต การประพฤติปฏิบัติตนเพื่อแสวงหาความสุขอยู่ใน รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสที่น่ารักน่าปรารถนา ซึ่งเป็นธรรมอันเลว เป็นเหตุให้ต้องมีบ้านเรือน เป็นธรรมของคนผุ้ครองเรือนผู้หนาไปด้วยกิเลส ไม่ใธรรมอันจะนำจิตใจออกจากกิเลส ไม่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติเพื่อให้จิตหลุดพ้นจากกิเลสเครื่องรัดรึงใจทั้งหลาย นี่อย่างหนึ่ง
โย จายัง อัตตะกิละมะถานุโยโค ทุกโข อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต ฯ และอีกอย่างหนึ่ง คือ การประพฤติปฏิบัติด้วยการทรมานร่างกายให้ได้รับความลำบาก ซึ่งมีแต่ทำให้ใจเป็นทุกข์ทรมานอย่างเดียว ไม่เป็นทางนำจิตใจออกจากกิเลส และไม่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติเพื่อให้จิตหลุดพ้นจากกิเลสเครื่องรัดรึงใจท้งหลาย ฯ (หรืออีกนัยหนึ่งคือ เร่งหักโหมปฏิบัติธรรมจนเกินกำลัง เพื่อหวังจะได้บรรลุมรรคผลเร็ว ๆ )
เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต อะนะปะคัมมะ มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตถาคตได้รู้ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลาง โดยไม่เข้าไปใกล้ส่วนที่สุด ๒ อย่างนั้นแล้ว ด้วยปัญญาอันยิ่ง
จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติฯ ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น สามารถทำดวงตาคือ ปัญญา ทำญาณเครื่องรู้ ให้เป็นไปเพื่อใจสงบระงับจากกิเลส เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดี และเพื่อทำให้กิเลสดับไปจากจิตคือเข้าสู่พระนิพพาน ฯ
กะตะมา จะ สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลาง ซึ่งสามารถทำดวงตาคือ ปัญญา ทำญาณเครื่องรู้ ให้เป็นไปเพื่อใจสงบระงับจากกิเลส เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดี และเพื่อให้กิเลสดับไปจากจิตคือเข้าสู่พระนิพพาน ที่ตถาคตรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่งนั้น คือการปฏิบัติอย่างไร?
อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนี้ คือ ทางนำไปสู่ความไกลจากกิเลสเครื่องรัดรึงใจทั้งหลาย มี ๘ อย่าง ฯ
เสยยะถีทัง ข้อปฏิบัติเหล่านี้คือ
- สัมมาทิฏฐิ ปัญญาอันเห็นชอบ ( คือ เห็นอริยสัจ )
- สัมมาสังกัปโป ความดำริชอบ ( คิดจะออกจากกาม ไม่คิดอาฆาตพยาบาท ไม่คิดเบียดเบียน )
- สัมมาวาจา วาจาชอบ ( ไม่พูดโกหก ไม่พูดคำหยาบ ไม่พูดคำส่อเสียด ไม่พูดเพ้อเจ้อเหลวไหล )
- สัมมากัมมันโต การงานชอบ ( เว้นจากการทุจริต เช่น โกงแรงงานเขาเป็นต้น และทำการงานที่ไม่มีโทษ )
- สัมมาอาชีโว การเลี้ยงชีวิตชอบ ( หากินโดยไม่ผิดกฎหมาย ไม่ผิดศีล ไม่ผิดธรรม ไม่ผิดประเพณี )
- สัมมาวายาโม ความเพียรชอบ ( เพียรละชั่ว ประพฤติดีเพื่อให้มีคุณธรรมประจำใจ และเพื่อให้ได้คุณธรรมสูงยิ่ง ๆ ขึ้นไป )
- สัมมาสะติ การระลึกชอบ ( ระลึกนึกถึง อนุสสติ ๑๐ ประการ มีพระนิพพานเป็นที่สุด และระลึกในมหาสติปัฏฐาน ๔ )
- สัมมาสะมาธิ ฯ การตั้งจิตไว้ชอบ ( การทำสมาธิให้อารมณ์ตั้งมั่นในอนุสสติ ๑๐ ประการนั้น ) ฯ ( หรือกล่าวโดยย่อ มรรค ๘ ประการนี้ก็คือ ศีล สมาธิ ปัญญา )
อะยัง โข สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทางเหล่านี้แล คือ ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลาง ซึ่งสามารถทำดวงตาคือ ปัญญา ทำญาณเครื่องรู้ ให้เป็นไปเพื่อใจสงบระงับจากกิเลส เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดี และเพื่อทำให้กิเลสดับไปจากจิตคือเข้าสู่พระนิพพาน ที่ตถาคตรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง ฯ
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สภาวะเหล่านี้แลเป็นตัวทุกข์อย่างแท้จริง คือ
- ชาติปิ ทุกขา ความเกิดก็เป็นทุกข์
- ชะราปิ ทุกขา เมื่อความแก่เข้ามาถึง ก็เป็นทุกข์
- มะระณัมปิ ทุกขัง เมื่อความตายเข้ามาถึง ก็เป็นทุกข์
- โสกะปริเทวะทุกขะโทมะนัสสุกปายาสาปิ ทุกขา เมื่อความเศร้าโศก ความร่ำไรรำพัน ความเสียใจ และความคับแค้นใจเกิดขึ้นมา ก็เป็นทุกข์
- อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข เมื่อประสบพบกับสิ่งที่ไม่ชอบใจ ก็เป็นทุกข์
- ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข เมื่อพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รักที่ชอบใจก็เป็นทุกข์
- ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง และแม้คิดปรารถนาอยากได้สิ่งใด แต่ไม่ได้สิ่งนั้นสมปรารถนา ก็เป็นทุกข์
- สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา ฯ กล่าวโดยย่อแล้วก็คือ การหลงคิดว่าร่างกายเป็นของเราของเขานั่นแล เป็นตัวทำให้ใจเกิดทุกข์อย่างแท้จริง ฯ
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ยายัง ตัณหา ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ตัณหาคือความอยากไม่มีสิ้นสุดที่มีอยู่ในใจนี้แลเป็นต้นเหตุทำให้ใจเกิดทุกข์อย่างแท้จริง
โปโนพภะวิกา นันทิราคะสะหะคะตา ตัตระ ตัตราภินันทินี เสยยะถีทัง กามะตัณหา คือ มีความอยากเวียนว่ายตายเกิดอยู่ร่ำไป และมีความกำหนัดยินดีในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสที่น่าปรารถนา ก็เป็นเหตุให้ใจเกิดทุกข์
ภะวะตัณหา สิ่งใดที่ยังไม่มี ก็คิดอยากจะให้มีขึ้นมา อย่างนี้ก็ทำให้ใจเกิดทุกข์
วิภะวะตัณหา และเมื่อมีทุกอย่างสมปรารถนาแล้ว ก็อยากจะให้ทุกอย่างคงทนอยู่ตลอดไป เมื่อมันจะต้องสลายหายไป ก็ร้อนใจไม่อยากให้เป็นเช่นนั้น อย่างนี้ก็ยิ่งทำให้ใจเกิดทุกข์หนักขึ้นอีก ฯ
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ อะเสสะวิราคะนิโรโธ จาโค ปะฏินิสสัคโค มุตติ อะนาละโย ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การดับตัณหาความอยากให้หมดไปจากใจด้วยการ ละ วาง ปล่อย และไม่คิดยินดีพัวพันอยู่กับตัณหาความอยากนั้นอีกเด็ดขาด คือ การดับทุกข์ให้หมดไปจากใจได้อย่างแท้จริง ฯ
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค เสยยะถีทัง สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อปฏิบัติเพื่อนำกิเลสให้หมดไปจากใจนี้ มี ๘ อย่าง คือ ปัญญาเห็นชอบ ความดำริชอบ วาจาชอบ การงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ความเพียรชอบ การระลึกชอบ และการตั้งจิตไว้ชอบ คือ ข้อปฏิบัติเพื่อนำใจให้หมดจากกิเลสและดับความทุกข์ได้อย่งแท้จริง ฯ
อิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย ดวงตาคือ ปัญญาเห็นธรรม และการกำหนดรู้ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราอย่างนี้ว่า "ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย ความเศร้าโศก ความร่ำไรรำพัน ความเสียใจ และความคับแค้นใจ เป็นตัวทุกข์อย่างแท้จริง" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญเญยยันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วว่า "ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย เหล่านี้เป็นต้น อันเป็นตัวทุกข์อย่างแท้จริงนั้นแล เป็นสิ่งที่ควรกำหนดรู้ตลอดเวลา" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญญาตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือ ปัญญาเห็นธรรม และการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้งและความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วว่า "ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย เหล่านี้เป็นต้น อันเป็นตัวทุกข์อย่งแท้จริงนี้นั้นแล เราได้หยั่งรู้ด้วยปัญญาโดยตลอดแล้ว" ฯ
อิทัง ทุกขะสุมุทะโย อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรม และการกำหนดรู้ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่างในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วอย่างนี้ว่า "ตัณหาคือความอยากไม่มีสิ้นสุดที่มีอยู่ในใจนี้ เป็นเหตุทำให้ใจเกิดทุกข์อย่างแท้จริง" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วว่า "ตัณหาคือความอยากไม่มีสิ้นสุดที่มีอยู่ในใจ อันเป็นเหตุทำให้ใจเกิดทุกข์อย่างแท้จริงนี้นั้นแล เป็นสิ่งที่ต้องละให้ขาด" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหีนันติ (ให้อ่านว่า ปะฮีนันติ.)เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วว่า "ตัณหาคือความอยากไม่มีสิ้นสุดที่มีอยู่ในใจ อันเป็นเหตุทำให้ใจเกิดทุกข์อย่างแท้จริงนี้นั้นแล เราได้ละขาดไปจากใจแล้ว" ฯ
อิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วอย่างนี้ว่า "การดับตัณหาคือความอยากไม่มีสิ้นสุดนี้ให้หมดไปจากใจ คือ การดับทุกข์ได้อย่างแท้จริง" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วว่า "การดับตัณหาคือความอยากไม่มีสิ้นสุดนี้ให้หมดไปจากใจ คือ การดับทุกข์ได้อย่างแท้จริงนี้นั้นแล เป็นสิ่งที่ต้องทำให้แจ้งในใจตลอดเวลา" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกะตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วว่า "การดับตัณหาคือความอยากไม่มีสิ้นสุดนี้ให้หมดไปจากใจ คือ การดับทุกข์ได้อย่างแท้จริงนี้นั้นแล เราได้ทำให้แจ้งในใจอยู่ตลอดเวลาแล้ว" ฯ
อิทัง ทุกขะนิโรธคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วอย่างนี้ว่า "มรรคคือทาง ๘ ประการ เป็นข้อปฏิบัติให้ทุกข์ดับไปจากใจได้อย่างแท้จริง" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาเวตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วอย่างนี้ว่า "มรรคคือทาง ๘ ประการ อันเป็นข้อปฏิบัติให้ทุกข์ดับไปจากใจได้อย่างแท้จริงนี้นั้นแล เป็นธรรมที่ต้องทำให้มีในใจไว้ตลอดเวลา" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาวิตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วอย่างนี้ว่า "มรรคคือทาง ๘ ประการ อันเป็นข้อปฏิบัติให้ทุกข์ดับไปจากใจได้อย่างแท้จริงนี้นั้นแล เราได้ทำให้มีในใจไว้ตลอดเวลาแล้ว" ฯ
ยาวะกีวัญจะ เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง นะ สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความจริง ๔ อย่าง อันทำให้ใจห่างไกลจากกิเลสนี้ ถ้าหากเรายังไม่รู้เห็นตามความเป็นจริง โดยอาการหมุนเวียนแห่งปัญญาญาณ ครบ ๓ รอบทั้ง ๔ อย่าง รวมเป็นอาการ ๑๒ รอบ ( อาการ ๑๒ รอบนี้ เรียกว่า ญาณ ๓ คือ 1. สัจจญาณ : การหยั่งรู้ให้ทราบชัดในความจริงแต่ละอย่างในความเกิด แก่ เจ็บ ตาย ว่าเป็นทุกข์แท้จริง , ตัณหาคือเหตุเกิดทุกข์แท้จริง , การดับตัณหาคือการดับทุกข์ได้แท้จริง , มรรคคือ ทาง ๘ ประการเป็นข้อปฏิบัติให้ทุกข์ดับไปจากใจได้อย่างแท้จริง 2. กิจจญาณ : การหยั่งรู้ให้ทราบชัดว่า จะต้องทำอย่งไรกับความจริงแต่ละอย่างนั้น ว่า ตัวทุกข์ควรต้องกำหนดรู้ตลอดเวลา , ตัณหาต้องละให้ขาด , การดับตัณหาเป็นสิ่งที่ต้องทำให้แจ้งในใจตลอดเวลา , มรรค ๘ เป็นธรรมที่ต้องทำให้มีในใจไว้ตลอดเวลา และ 3. กตญาณ : การหยั่งรู้ว่าได้ทำหน้าที่ทุกอย่างในความจริงแต่ละอย่างนั้นได้โดยบริบูรณ์แล้ว คือ ทุกข์รู้ด้วยปัญญาโดยตลอดแล้ว , ตัณหาได้ละขาดไปจากใจแล้ว , การดับตัณหาได้ทำให้แจ้งในใจตลอดเวลาแล้ว , มรรค ๘ ได้ทำให้มีในใจไว้ตลอดเวลาแล้ว )
เนวะ ตาวาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราไม่กล้าประกาศยืนยันแก่มนุษยโลก ตลอดถึงเทวโลก มารโลก พรหมโลก รวมทั้งหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ ให้ได้รู้เพียงนั้น ว่าเราได้ตรัสรู้พร้อมยิ่งซึ่งปัญญาเครื่องตรัสรู้โดยชอบอันยอดเยี่ยม ซึ่งไม่มีความตรัสรู้อื่นในโลกใด ๆ หรือ ของใคร ๆ จะเทียบได้ ฯ
ยะโต จะ โข เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็เมื่อใดแล ความจริง ๔ อย่ง อันทำให้ใจห่างไกลจากกิเลสนี้ เราได้รู้เห็นตามความเป็นจริง โดยอาการหมุนเวียนแห่งปัญญาญาณ ครบ ๓ รอบทั้ง ๔ อย่าง รวมเป็นอาการ ๑๒ รอบ ด้วยปัญญาอันบริสุทธิ์หมดจดแล้ว ฯ
อะถาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อนั้น เราจึงกล้าประกาศยืนยันแก่มนุษยโลก ตลอดถึงเทวโลก มารโลก พรหมโลก รวมทั้งหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ ให้ได้รู้เฉพาะว่า เราได้ตรัสรู้พร้อมยิ่งซึ่งปัญญาเครื่องตรัสรู้โดยชอบอันยอดเยี่ยม ซึ่งไม่มีความตรัสรู้อื่นในโลกใด ๆ หรือของใคร ๆ จะเทียบได้ ฯ
ญาณัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง อุทะปาทิ อะกุปปา เม วิมุตติ อะยะมันติมา ชาติ นัตถิทานิ ปุนัพภะโวติ ฯ ก็แล ปัญญาอันรู้เห็นได้เกิดขึ้นแก่เราแล้วว่า "กิเลสเครื่องรัดรึงใจทั้งหลายไม่สามารถจะกำเริบขึ้นมาได้อีกแล้ว จิตของเราได้หลุดพ้นจากกิเลสโดยวิเศษแล้ว ชาตินี้เป็นชาติสุดท้ายของเราแล้ว บัดนี้ไม่มีภพเป็นที่เกิดสำหรับเราอีกแล้ว" ฯ
อิทะมะโวจะ ภะคะวา ฯ ครั้นเมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงแสดงความจริง ๔ อย่างอันประเสริฐ อันทำให้ใจห่างไกลจากกิเลสอย่างนี้แล้ว ฯ
อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิยา ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง ฯ พระภิกษุปัจจวัคคีย์เหล่านั้น ก็มีความเพลิดเพลินยินดีในธรรมที่พระพุทธองค์ทรงตรัสแล้วนั้น ฯ
อิมัสมิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัสมิง ภัญญะมาเน ก็ในเมื่อขณะที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงกล่าวแสดงความละเอียดพิศดารแห่งความจริงอันประเสริฐ ๔ ประการอยู่นั่นแล
อายัสมะโต โกณทัญญัสสะ วิระชัง วีตะมะลัง ธัมมะจักขุง อุทะปาทิ "ยังกิญจิ สะมุทะยะธัมมัง สัพพันตัง นิโรธะธัมมันติ" ฯ ดวงตาคือ ปัญญาอันเห็นธรรม ซึ่งปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ได้เกิดแล้วแก่ท่านโกณทัญญะ ผู้มีอายุอย่างนี้ว่า "สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดาแล้ว สิ่งนั้น ๆ ทั้งปวง ก็ต้องดับสลายไปเป็นธรรมดา" ฯ
ปะวัตติเต จะ ภะคะวะตา ธัมมะจักเก ก็เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ทรงประกาศวงล้อแห่งธรรมให้เป็นไปแล้วนั่นแล
ภุมมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ภูมิเทวดาทั้งหลาย ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้นว่า
"เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสมินติ" ฯ "นั่นคือ วงล้อแห่งธรรมอันยอดเยี่ยม ไม่มีอะไรเทียบได้ อันพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงประกาศให้เป็นไปแล้ว ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณสี ซึ่งวงล้อแห่งธรรมอย่างนี้ อันสมณพราหมณ์ ตลอดถึงเทวดา มาร พรหม และใคร ๆ ในโลก ไม่สามารถให้เป็นไปได้"
ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา จาตุมมะหาราชิกา เทวดา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ เทพเจ้าเหล่าชั้นจาตุมหาราช ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าภูมิเทวดาแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ เทพเจ้าเหล่าชั้นดาวดึงส์ ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นจาตุมหาราชแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ เทพเจ้าเหล่าชั้นยามา ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นดาวดึงส์แล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
ยามานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ เทพเจ้าเหล่าชั้นดุสิตได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นยามาแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
[bตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ เทพเจ้าเหล่าชั้นนิมมานรดี ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นดุสิตแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ เทพเจ้าเหล่าชั้นปรนิมมิตวสวัตตี ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นนิมมานรดีแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สังททัง สุตวา พรัหมะกายิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่พรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นปรนิมมิตวสวัตตีแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้นว่า
"เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสมินติ" ฯ "นั่นคือ วงล้อแห่งธรรมอันยอดเยี่ยม ไม่มีอะไรเทียบได้ อันพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงประกาศให้เป็นไปแล้ว ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณสี ซึ่งวงล้อแห่งธรรมอย่างนี้ อันสมณพราหมณ์ ตลอดถึง เทวดา มาร พรหม และใคร ๆ ในโลก ไม่สามารถให้เป็นไปได้" ฯ
อิติหะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ มุหุตเตนะ ยาวะ พรัหมะโลกา สัทโท อัพภุคคัจฉิ ฯ และโดยขณะเดียวเท่านั้น เสียงก็ดังขึ้นไปถึงพรหมโลกด้วยอาการอย่างนี้ ฯ
อะยัญจะ ทะสะสะหัสสี โลกะธาตุ สังกัมปิ สัมปะกัมปิ สัมปะเวธิ ฯ และเสียงนี้ได้สะท้านสะเทือนหวั่นไหว ดังสนั่นไปตลอดทิศทั้ง ๔ ทั่วทั้งหมื่นโลกธาตุ ฯ
อัปปะมาโณ จะ โอฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุระโหสิ อะติกกัมเมวะ เทวานัง เทวานุภาวัง ฯ อีกทั้งแสงสว่างอันใหญ่ยิ่งไม่มีประมาณ ได้ปรากฏแล้วในโลก ล่วงเทวานุภาพของเทวดาทั้งหลายเสียหมด ฯ
อะถะ โข ภะคะวา อุทานัง อุทาเนสิ "อัญญาสิ วะตะ โภ โกณทัญโญ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณทัญโญติ" ฯ ในลำดับนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงเปล่งอุทานขึ้นว่า "โกณทัญญะผู้เจริญได้รู้แล้วหนอ โกณทัญญะผู้เจริญได้รู้แล้วหนอ" ฯ (อัญญาสิ : ได้รู้แล้ว)
อิติหิทัง อายัสมะโต โกณทัญญัสสะ "อัญญาโกณทัญโญ" เตววะ นามัง อะโหสีติ ฯ เพราะเหตุที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเปล่งอุทานขึ้นมาอย่างนี้แล นามว่า "อัญญาโกณทัญญะ" นี้นั่นแหละ ได้มีแล้วแก่พระโกณทัญญะผู้มีอายุ
เอวัมเม สุตัง เอกัง สะมะยัง ภะคะวา พาราณะสิยัง วิหะระติ อิสิปะตะเน มิคะทาเยฯ ข้าพเจ้าได้ฟังจากพระผู้มีพระภาคเจ้าอย่างนี้ว่า ในสมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จประทับยับยั้งอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวันใกล้เมืองพาราณสี ฯ
ตัตระ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ ฯ ในกาลครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสเตือนสติเหล่าภิกษุปัญจวัคคีย์ให้ตั้งใจฟังและพิจารณาตามพระดำรัสของพระองค์อย่างนี้ว่า ฯ
เทวเม ภิกขะเว อันตา ปัพพะชิเตนะ นะ เสวิตัพพา ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บรรพชิตไม่ควรปฏิบัติให้หนักไปในส่วนที่สุด ๒ อย่าง คือ
โย จายัง กาเมสุ กามะสุขัลลิกานุโยโค หีโน (ถ้ามีการตรวจคำหยาบ..ตรงนี้ให้ออกเสียงว่า ฮีโน..นะครับ) คัมโม โปถุชชะนิโก อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต การประพฤติปฏิบัติตนเพื่อแสวงหาความสุขอยู่ใน รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสที่น่ารักน่าปรารถนา ซึ่งเป็นธรรมอันเลว เป็นเหตุให้ต้องมีบ้านเรือน เป็นธรรมของคนผุ้ครองเรือนผู้หนาไปด้วยกิเลส ไม่ใธรรมอันจะนำจิตใจออกจากกิเลส ไม่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติเพื่อให้จิตหลุดพ้นจากกิเลสเครื่องรัดรึงใจทั้งหลาย นี่อย่างหนึ่ง
โย จายัง อัตตะกิละมะถานุโยโค ทุกโข อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต ฯ และอีกอย่างหนึ่ง คือ การประพฤติปฏิบัติด้วยการทรมานร่างกายให้ได้รับความลำบาก ซึ่งมีแต่ทำให้ใจเป็นทุกข์ทรมานอย่างเดียว ไม่เป็นทางนำจิตใจออกจากกิเลส และไม่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติเพื่อให้จิตหลุดพ้นจากกิเลสเครื่องรัดรึงใจท้งหลาย ฯ (หรืออีกนัยหนึ่งคือ เร่งหักโหมปฏิบัติธรรมจนเกินกำลัง เพื่อหวังจะได้บรรลุมรรคผลเร็ว ๆ )
เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต อะนะปะคัมมะ มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตถาคตได้รู้ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลาง โดยไม่เข้าไปใกล้ส่วนที่สุด ๒ อย่างนั้นแล้ว ด้วยปัญญาอันยิ่ง
จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติฯ ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น สามารถทำดวงตาคือ ปัญญา ทำญาณเครื่องรู้ ให้เป็นไปเพื่อใจสงบระงับจากกิเลส เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดี และเพื่อทำให้กิเลสดับไปจากจิตคือเข้าสู่พระนิพพาน ฯ
กะตะมา จะ สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลาง ซึ่งสามารถทำดวงตาคือ ปัญญา ทำญาณเครื่องรู้ ให้เป็นไปเพื่อใจสงบระงับจากกิเลส เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดี และเพื่อให้กิเลสดับไปจากจิตคือเข้าสู่พระนิพพาน ที่ตถาคตรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่งนั้น คือการปฏิบัติอย่างไร?
อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนี้ คือ ทางนำไปสู่ความไกลจากกิเลสเครื่องรัดรึงใจทั้งหลาย มี ๘ อย่าง ฯ
เสยยะถีทัง ข้อปฏิบัติเหล่านี้คือ
- สัมมาทิฏฐิ ปัญญาอันเห็นชอบ ( คือ เห็นอริยสัจ )
- สัมมาสังกัปโป ความดำริชอบ ( คิดจะออกจากกาม ไม่คิดอาฆาตพยาบาท ไม่คิดเบียดเบียน )
- สัมมาวาจา วาจาชอบ ( ไม่พูดโกหก ไม่พูดคำหยาบ ไม่พูดคำส่อเสียด ไม่พูดเพ้อเจ้อเหลวไหล )
- สัมมากัมมันโต การงานชอบ ( เว้นจากการทุจริต เช่น โกงแรงงานเขาเป็นต้น และทำการงานที่ไม่มีโทษ )
- สัมมาอาชีโว การเลี้ยงชีวิตชอบ ( หากินโดยไม่ผิดกฎหมาย ไม่ผิดศีล ไม่ผิดธรรม ไม่ผิดประเพณี )
- สัมมาวายาโม ความเพียรชอบ ( เพียรละชั่ว ประพฤติดีเพื่อให้มีคุณธรรมประจำใจ และเพื่อให้ได้คุณธรรมสูงยิ่ง ๆ ขึ้นไป )
- สัมมาสะติ การระลึกชอบ ( ระลึกนึกถึง อนุสสติ ๑๐ ประการ มีพระนิพพานเป็นที่สุด และระลึกในมหาสติปัฏฐาน ๔ )
- สัมมาสะมาธิ ฯ การตั้งจิตไว้ชอบ ( การทำสมาธิให้อารมณ์ตั้งมั่นในอนุสสติ ๑๐ ประการนั้น ) ฯ ( หรือกล่าวโดยย่อ มรรค ๘ ประการนี้ก็คือ ศีล สมาธิ ปัญญา )
อะยัง โข สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทางเหล่านี้แล คือ ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลาง ซึ่งสามารถทำดวงตาคือ ปัญญา ทำญาณเครื่องรู้ ให้เป็นไปเพื่อใจสงบระงับจากกิเลส เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดี และเพื่อทำให้กิเลสดับไปจากจิตคือเข้าสู่พระนิพพาน ที่ตถาคตรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง ฯ
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สภาวะเหล่านี้แลเป็นตัวทุกข์อย่างแท้จริง คือ
- ชาติปิ ทุกขา ความเกิดก็เป็นทุกข์
- ชะราปิ ทุกขา เมื่อความแก่เข้ามาถึง ก็เป็นทุกข์
- มะระณัมปิ ทุกขัง เมื่อความตายเข้ามาถึง ก็เป็นทุกข์
- โสกะปริเทวะทุกขะโทมะนัสสุกปายาสาปิ ทุกขา เมื่อความเศร้าโศก ความร่ำไรรำพัน ความเสียใจ และความคับแค้นใจเกิดขึ้นมา ก็เป็นทุกข์
- อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข เมื่อประสบพบกับสิ่งที่ไม่ชอบใจ ก็เป็นทุกข์
- ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข เมื่อพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รักที่ชอบใจก็เป็นทุกข์
- ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง และแม้คิดปรารถนาอยากได้สิ่งใด แต่ไม่ได้สิ่งนั้นสมปรารถนา ก็เป็นทุกข์
- สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา ฯ กล่าวโดยย่อแล้วก็คือ การหลงคิดว่าร่างกายเป็นของเราของเขานั่นแล เป็นตัวทำให้ใจเกิดทุกข์อย่างแท้จริง ฯ
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ยายัง ตัณหา ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ตัณหาคือความอยากไม่มีสิ้นสุดที่มีอยู่ในใจนี้แลเป็นต้นเหตุทำให้ใจเกิดทุกข์อย่างแท้จริง
โปโนพภะวิกา นันทิราคะสะหะคะตา ตัตระ ตัตราภินันทินี เสยยะถีทัง กามะตัณหา คือ มีความอยากเวียนว่ายตายเกิดอยู่ร่ำไป และมีความกำหนัดยินดีในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสที่น่าปรารถนา ก็เป็นเหตุให้ใจเกิดทุกข์
ภะวะตัณหา สิ่งใดที่ยังไม่มี ก็คิดอยากจะให้มีขึ้นมา อย่างนี้ก็ทำให้ใจเกิดทุกข์
วิภะวะตัณหา และเมื่อมีทุกอย่างสมปรารถนาแล้ว ก็อยากจะให้ทุกอย่างคงทนอยู่ตลอดไป เมื่อมันจะต้องสลายหายไป ก็ร้อนใจไม่อยากให้เป็นเช่นนั้น อย่างนี้ก็ยิ่งทำให้ใจเกิดทุกข์หนักขึ้นอีก ฯ
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ อะเสสะวิราคะนิโรโธ จาโค ปะฏินิสสัคโค มุตติ อะนาละโย ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การดับตัณหาความอยากให้หมดไปจากใจด้วยการ ละ วาง ปล่อย และไม่คิดยินดีพัวพันอยู่กับตัณหาความอยากนั้นอีกเด็ดขาด คือ การดับทุกข์ให้หมดไปจากใจได้อย่างแท้จริง ฯ
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค เสยยะถีทัง สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อปฏิบัติเพื่อนำกิเลสให้หมดไปจากใจนี้ มี ๘ อย่าง คือ ปัญญาเห็นชอบ ความดำริชอบ วาจาชอบ การงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ความเพียรชอบ การระลึกชอบ และการตั้งจิตไว้ชอบ คือ ข้อปฏิบัติเพื่อนำใจให้หมดจากกิเลสและดับความทุกข์ได้อย่งแท้จริง ฯ
อิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย ดวงตาคือ ปัญญาเห็นธรรม และการกำหนดรู้ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราอย่างนี้ว่า "ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย ความเศร้าโศก ความร่ำไรรำพัน ความเสียใจ และความคับแค้นใจ เป็นตัวทุกข์อย่างแท้จริง" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญเญยยันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วว่า "ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย เหล่านี้เป็นต้น อันเป็นตัวทุกข์อย่างแท้จริงนั้นแล เป็นสิ่งที่ควรกำหนดรู้ตลอดเวลา" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญญาตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือ ปัญญาเห็นธรรม และการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้งและความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วว่า "ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย เหล่านี้เป็นต้น อันเป็นตัวทุกข์อย่งแท้จริงนี้นั้นแล เราได้หยั่งรู้ด้วยปัญญาโดยตลอดแล้ว" ฯ
อิทัง ทุกขะสุมุทะโย อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรม และการกำหนดรู้ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่างในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วอย่างนี้ว่า "ตัณหาคือความอยากไม่มีสิ้นสุดที่มีอยู่ในใจนี้ เป็นเหตุทำให้ใจเกิดทุกข์อย่างแท้จริง" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วว่า "ตัณหาคือความอยากไม่มีสิ้นสุดที่มีอยู่ในใจ อันเป็นเหตุทำให้ใจเกิดทุกข์อย่างแท้จริงนี้นั้นแล เป็นสิ่งที่ต้องละให้ขาด" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหีนันติ (ให้อ่านว่า ปะฮีนันติ.)เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วว่า "ตัณหาคือความอยากไม่มีสิ้นสุดที่มีอยู่ในใจ อันเป็นเหตุทำให้ใจเกิดทุกข์อย่างแท้จริงนี้นั้นแล เราได้ละขาดไปจากใจแล้ว" ฯ
อิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วอย่างนี้ว่า "การดับตัณหาคือความอยากไม่มีสิ้นสุดนี้ให้หมดไปจากใจ คือ การดับทุกข์ได้อย่างแท้จริง" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วว่า "การดับตัณหาคือความอยากไม่มีสิ้นสุดนี้ให้หมดไปจากใจ คือ การดับทุกข์ได้อย่างแท้จริงนี้นั้นแล เป็นสิ่งที่ต้องทำให้แจ้งในใจตลอดเวลา" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกะตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วว่า "การดับตัณหาคือความอยากไม่มีสิ้นสุดนี้ให้หมดไปจากใจ คือ การดับทุกข์ได้อย่างแท้จริงนี้นั้นแล เราได้ทำให้แจ้งในใจอยู่ตลอดเวลาแล้ว" ฯ
อิทัง ทุกขะนิโรธคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วอย่างนี้ว่า "มรรคคือทาง ๘ ประการ เป็นข้อปฏิบัติให้ทุกข์ดับไปจากใจได้อย่างแท้จริง" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาเวตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วอย่างนี้ว่า "มรรคคือทาง ๘ ประการ อันเป็นข้อปฏิบัติให้ทุกข์ดับไปจากใจได้อย่างแท้จริงนี้นั้นแล เป็นธรรมที่ต้องทำให้มีในใจไว้ตลอดเวลา" ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาวิตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ดวงตาคือปัญญาเห็นธรรมและการกำหนดรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ตลอดถึงความรู้แจ้ง และความมีใจสว่าง ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ได้เกิดขึ้นในปัญญาของเราแล้วอย่างนี้ว่า "มรรคคือทาง ๘ ประการ อันเป็นข้อปฏิบัติให้ทุกข์ดับไปจากใจได้อย่างแท้จริงนี้นั้นแล เราได้ทำให้มีในใจไว้ตลอดเวลาแล้ว" ฯ
ยาวะกีวัญจะ เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง นะ สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความจริง ๔ อย่าง อันทำให้ใจห่างไกลจากกิเลสนี้ ถ้าหากเรายังไม่รู้เห็นตามความเป็นจริง โดยอาการหมุนเวียนแห่งปัญญาญาณ ครบ ๓ รอบทั้ง ๔ อย่าง รวมเป็นอาการ ๑๒ รอบ ( อาการ ๑๒ รอบนี้ เรียกว่า ญาณ ๓ คือ 1. สัจจญาณ : การหยั่งรู้ให้ทราบชัดในความจริงแต่ละอย่างในความเกิด แก่ เจ็บ ตาย ว่าเป็นทุกข์แท้จริง , ตัณหาคือเหตุเกิดทุกข์แท้จริง , การดับตัณหาคือการดับทุกข์ได้แท้จริง , มรรคคือ ทาง ๘ ประการเป็นข้อปฏิบัติให้ทุกข์ดับไปจากใจได้อย่างแท้จริง 2. กิจจญาณ : การหยั่งรู้ให้ทราบชัดว่า จะต้องทำอย่งไรกับความจริงแต่ละอย่างนั้น ว่า ตัวทุกข์ควรต้องกำหนดรู้ตลอดเวลา , ตัณหาต้องละให้ขาด , การดับตัณหาเป็นสิ่งที่ต้องทำให้แจ้งในใจตลอดเวลา , มรรค ๘ เป็นธรรมที่ต้องทำให้มีในใจไว้ตลอดเวลา และ 3. กตญาณ : การหยั่งรู้ว่าได้ทำหน้าที่ทุกอย่างในความจริงแต่ละอย่างนั้นได้โดยบริบูรณ์แล้ว คือ ทุกข์รู้ด้วยปัญญาโดยตลอดแล้ว , ตัณหาได้ละขาดไปจากใจแล้ว , การดับตัณหาได้ทำให้แจ้งในใจตลอดเวลาแล้ว , มรรค ๘ ได้ทำให้มีในใจไว้ตลอดเวลาแล้ว )
เนวะ ตาวาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราไม่กล้าประกาศยืนยันแก่มนุษยโลก ตลอดถึงเทวโลก มารโลก พรหมโลก รวมทั้งหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ ให้ได้รู้เพียงนั้น ว่าเราได้ตรัสรู้พร้อมยิ่งซึ่งปัญญาเครื่องตรัสรู้โดยชอบอันยอดเยี่ยม ซึ่งไม่มีความตรัสรู้อื่นในโลกใด ๆ หรือ ของใคร ๆ จะเทียบได้ ฯ
ยะโต จะ โข เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็เมื่อใดแล ความจริง ๔ อย่ง อันทำให้ใจห่างไกลจากกิเลสนี้ เราได้รู้เห็นตามความเป็นจริง โดยอาการหมุนเวียนแห่งปัญญาญาณ ครบ ๓ รอบทั้ง ๔ อย่าง รวมเป็นอาการ ๑๒ รอบ ด้วยปัญญาอันบริสุทธิ์หมดจดแล้ว ฯ
อะถาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อนั้น เราจึงกล้าประกาศยืนยันแก่มนุษยโลก ตลอดถึงเทวโลก มารโลก พรหมโลก รวมทั้งหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ ให้ได้รู้เฉพาะว่า เราได้ตรัสรู้พร้อมยิ่งซึ่งปัญญาเครื่องตรัสรู้โดยชอบอันยอดเยี่ยม ซึ่งไม่มีความตรัสรู้อื่นในโลกใด ๆ หรือของใคร ๆ จะเทียบได้ ฯ
ญาณัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง อุทะปาทิ อะกุปปา เม วิมุตติ อะยะมันติมา ชาติ นัตถิทานิ ปุนัพภะโวติ ฯ ก็แล ปัญญาอันรู้เห็นได้เกิดขึ้นแก่เราแล้วว่า "กิเลสเครื่องรัดรึงใจทั้งหลายไม่สามารถจะกำเริบขึ้นมาได้อีกแล้ว จิตของเราได้หลุดพ้นจากกิเลสโดยวิเศษแล้ว ชาตินี้เป็นชาติสุดท้ายของเราแล้ว บัดนี้ไม่มีภพเป็นที่เกิดสำหรับเราอีกแล้ว" ฯ
อิทะมะโวจะ ภะคะวา ฯ ครั้นเมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงแสดงความจริง ๔ อย่างอันประเสริฐ อันทำให้ใจห่างไกลจากกิเลสอย่างนี้แล้ว ฯ
อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิยา ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง ฯ พระภิกษุปัจจวัคคีย์เหล่านั้น ก็มีความเพลิดเพลินยินดีในธรรมที่พระพุทธองค์ทรงตรัสแล้วนั้น ฯ
อิมัสมิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัสมิง ภัญญะมาเน ก็ในเมื่อขณะที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงกล่าวแสดงความละเอียดพิศดารแห่งความจริงอันประเสริฐ ๔ ประการอยู่นั่นแล
อายัสมะโต โกณทัญญัสสะ วิระชัง วีตะมะลัง ธัมมะจักขุง อุทะปาทิ "ยังกิญจิ สะมุทะยะธัมมัง สัพพันตัง นิโรธะธัมมันติ" ฯ ดวงตาคือ ปัญญาอันเห็นธรรม ซึ่งปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ได้เกิดแล้วแก่ท่านโกณทัญญะ ผู้มีอายุอย่างนี้ว่า "สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดาแล้ว สิ่งนั้น ๆ ทั้งปวง ก็ต้องดับสลายไปเป็นธรรมดา" ฯ
ปะวัตติเต จะ ภะคะวะตา ธัมมะจักเก ก็เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ทรงประกาศวงล้อแห่งธรรมให้เป็นไปแล้วนั่นแล
ภุมมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ภูมิเทวดาทั้งหลาย ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้นว่า
"เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสมินติ" ฯ "นั่นคือ วงล้อแห่งธรรมอันยอดเยี่ยม ไม่มีอะไรเทียบได้ อันพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงประกาศให้เป็นไปแล้ว ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณสี ซึ่งวงล้อแห่งธรรมอย่างนี้ อันสมณพราหมณ์ ตลอดถึงเทวดา มาร พรหม และใคร ๆ ในโลก ไม่สามารถให้เป็นไปได้"
ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา จาตุมมะหาราชิกา เทวดา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ เทพเจ้าเหล่าชั้นจาตุมหาราช ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าภูมิเทวดาแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ เทพเจ้าเหล่าชั้นดาวดึงส์ ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นจาตุมหาราชแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ เทพเจ้าเหล่าชั้นยามา ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นดาวดึงส์แล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
ยามานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ เทพเจ้าเหล่าชั้นดุสิตได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นยามาแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
[bตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ เทพเจ้าเหล่าชั้นนิมมานรดี ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นดุสิตแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ เทพเจ้าเหล่าชั้นปรนิมมิตวสวัตตี ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นนิมมานรดีแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น ฯ
ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สังททัง สุตวา พรัหมะกายิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง เทพเจ้าเหล่าที่เกิดในหมู่พรหม ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นปรนิมมิตวสวัตตีแล้ว ก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้นว่า
"เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสมินติ" ฯ "นั่นคือ วงล้อแห่งธรรมอันยอดเยี่ยม ไม่มีอะไรเทียบได้ อันพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงประกาศให้เป็นไปแล้ว ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณสี ซึ่งวงล้อแห่งธรรมอย่างนี้ อันสมณพราหมณ์ ตลอดถึง เทวดา มาร พรหม และใคร ๆ ในโลก ไม่สามารถให้เป็นไปได้" ฯ
อิติหะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ มุหุตเตนะ ยาวะ พรัหมะโลกา สัทโท อัพภุคคัจฉิ ฯ และโดยขณะเดียวเท่านั้น เสียงก็ดังขึ้นไปถึงพรหมโลกด้วยอาการอย่างนี้ ฯ
อะยัญจะ ทะสะสะหัสสี โลกะธาตุ สังกัมปิ สัมปะกัมปิ สัมปะเวธิ ฯ และเสียงนี้ได้สะท้านสะเทือนหวั่นไหว ดังสนั่นไปตลอดทิศทั้ง ๔ ทั่วทั้งหมื่นโลกธาตุ ฯ
อัปปะมาโณ จะ โอฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุระโหสิ อะติกกัมเมวะ เทวานัง เทวานุภาวัง ฯ อีกทั้งแสงสว่างอันใหญ่ยิ่งไม่มีประมาณ ได้ปรากฏแล้วในโลก ล่วงเทวานุภาพของเทวดาทั้งหลายเสียหมด ฯ
อะถะ โข ภะคะวา อุทานัง อุทาเนสิ "อัญญาสิ วะตะ โภ โกณทัญโญ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณทัญโญติ" ฯ ในลำดับนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงเปล่งอุทานขึ้นว่า "โกณทัญญะผู้เจริญได้รู้แล้วหนอ โกณทัญญะผู้เจริญได้รู้แล้วหนอ" ฯ (อัญญาสิ : ได้รู้แล้ว)
อิติหิทัง อายัสมะโต โกณทัญญัสสะ "อัญญาโกณทัญโญ" เตววะ นามัง อะโหสีติ ฯ เพราะเหตุที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเปล่งอุทานขึ้นมาอย่างนี้แล นามว่า "อัญญาโกณทัญญะ" นี้นั่นแหละ ได้มีแล้วแก่พระโกณทัญญะผู้มีอายุ
คาถาบทสวดพระแม่กวนอิม
นำโมไต๋ซื้อ ไต๋ปุย กิวโค่ว กิวหลั่ง กวงไต๋เล่งก้ำ กวงสี่อิม ผ่อสัก (กราบ)
นำโมไต๋ซื้อ ไต๋ปุย กิวโค่ว กิวหลั่ง กวงไต๋เล่งก้ำ กวงสี่อิม ผ่อสัก (กราบ)
นำโมไต๋ซื้อ ไต๋ปุย กิวโค่ว กิวหลั่ง กวงไต๋เล่งก้ำ กวงสี่อิม ผ่อสัก (กราบ)
นำโมฮู๊ก นำโมหวบ นำโมเจ๊ง นำโมกิวโค่ว กิวหลั่ง กวงสี่อิมผ่อสัก
ทั่งจี้โตโอม เกียล้อฮวดโต เกียล้อฮวดโต เกียออฮวดโต
ล้อเกียฮวดโต ล้อเกียฮวดโต ซำผ่อออ เทียงล้อซิ้ง ตี่ล้อซิ้ง
นั้งลี่หลั่ง หลั่งลี่ซิ้ง เจ็กเฉียกใจเอียงห่วยอุ่ยติ๊ง
มำโมม่อออปวกเยี่ยปอ ล้อบิ๊ก
นำโมไต๋ซื้อ ไต๋ปุย กิวโค่ว กิวหลั่ง กวงไต๋เล่งก้ำ กวงสี่อิม ผ่อสัก (กราบ)
นำโมไต๋ซื้อ ไต๋ปุย กิวโค่ว กิวหลั่ง กวงไต๋เล่งก้ำ กวงสี่อิม ผ่อสัก (กราบ)
นำโมไต๋ซื้อ ไต๋ปุย กิวโค่ว กิวหลั่ง กวงไต๋เล่งก้ำ กวงสี่อิม ผ่อสัก (กราบ)
นำโมฮู๊ก นำโมหวบ นำโมเจ๊ง นำโมกิวโค่ว กิวหลั่ง กวงสี่อิมผ่อสัก
ทั่งจี้โตโอม เกียล้อฮวดโต เกียล้อฮวดโต เกียออฮวดโต
ล้อเกียฮวดโต ล้อเกียฮวดโต ซำผ่อออ เทียงล้อซิ้ง ตี่ล้อซิ้ง
นั้งลี่หลั่ง หลั่งลี่ซิ้ง เจ็กเฉียกใจเอียงห่วยอุ่ยติ๊ง
มำโมม่อออปวกเยี่ยปอ ล้อบิ๊ก
คาถาอันเชิญและบูชา พระพิฆเนศวร
โอม ศิโรเม พุทธะเทวัญจะ อะหังเมธานัง พิฆะเนศะวะระ
พรหมะเทวะตา มะหาอิทธิโย ปาระมิตตา ปูชิตตะวา
อัญชะลียะ ปักการะวันตา ปักการา เคหะวัตถุมหิเขตเต
พิธีปูชา อาคัจฉายะหิ สัมผัสสะ เทวะ มะนุสสานัง
อัญชะลียะ จะ นะมัสศิวารายะ
โอม พระพิฆะเนศะวะระ สิทธิ ประสิทธิเม มะหาลาโภ
ทุติยัมปิ โอม พระพิฆะเนศะวะระ สิทธิ ประสิทธิเม มะหาลาโภ
ตะติยัมปิ โอม พระพิฆะเนศะวะระ สิทธิ ประสิทธิเม มะหาลาโภ
คาถาบูชา พระพิฆเนศวร
โอม ศรีคะเณศายะนะมะฮะ ชะยะคะเณศะ ชะยะคะเณศะ
ชะยะคะเณศะ เทวา มาตา ชากี ปะระ
วะตี ปิตามะหา เทวา ละฑุวัน กา โกคะ
ละเค สันตะ กะเร เสวา เอกทันดะ ทะยา วันดะ
จาระ ภุชา ธารี มาเถ สินทูระ เสเห
มุเส กี อะสะวารี อันธะ นะโก อางขะ
เทดะ โก กายา พามณะนะ โก กุตรระ
เทดะ โกทินะ นิระธะนะ มายา
โอม ศิโรเม พุทธะเทวัญจะ อะหังเมธานัง พิฆะเนศะวะระ
พรหมะเทวะตา มะหาอิทธิโย ปาระมิตตา ปูชิตตะวา
อัญชะลียะ ปักการะวันตา ปักการา เคหะวัตถุมหิเขตเต
พิธีปูชา อาคัจฉายะหิ สัมผัสสะ เทวะ มะนุสสานัง
อัญชะลียะ จะ นะมัสศิวารายะ
โอม พระพิฆะเนศะวะระ สิทธิ ประสิทธิเม มะหาลาโภ
ทุติยัมปิ โอม พระพิฆะเนศะวะระ สิทธิ ประสิทธิเม มะหาลาโภ
ตะติยัมปิ โอม พระพิฆะเนศะวะระ สิทธิ ประสิทธิเม มะหาลาโภ
คาถาบูชา พระพิฆเนศวร
โอม ศรีคะเณศายะนะมะฮะ ชะยะคะเณศะ ชะยะคะเณศะ
ชะยะคะเณศะ เทวา มาตา ชากี ปะระ
วะตี ปิตามะหา เทวา ละฑุวัน กา โกคะ
ละเค สันตะ กะเร เสวา เอกทันดะ ทะยา วันดะ
จาระ ภุชา ธารี มาเถ สินทูระ เสเห
มุเส กี อะสะวารี อันธะ นะโก อางขะ
เทดะ โก กายา พามณะนะ โก กุตรระ
เทดะ โกทินะ นิระธะนะ มายา
คาถาบูชาพระพุทธเจ้าหลวง
(รัชกาลที่ 5)
-ควรบูชาทุกวันอังคาร(วันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระองค์)และวันพฤหัสบดี(วันครู)
-สิ่งที่ท่านโปรด คือ น้ำมะพร้าวอ่อน กล้วยน้ำว้า ทองหยิบ ทองหยอด บรั่นดี ซิการ์
ข้าวคลุกกะปิ และ ดอกกุหลาบ สีชมพู
-ในวันพระให้ยกเว้นการถวายสิ่งที่เป็นอบายมุข เช่น เหล้า บุหรี่
-จุดธุป 5 ดอก หรือ 9 ดอก ว่าคาถา ดังนี้
ตั้งนะโม 3 จบ
พระสยามมินทร์โธ วะโรอิติ พุทธะ สังมิ อิติอะระหัง
สะหัสสะกายัง วะรัง พุทโธ นะโมพุทธายะ
วันอาทิตย์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2552
คาถาอุณหิสสวิชัย
ใช้สำหรับคนที่ดวงชะตาขาดภาวนาเป็นการต่อชะตาชีวิต บุคคลทั่วไปก็ใช้ได้ จะทำให้เกิดโชคลาภ อำนาจ บริวาร ปราศจากอันตราย และภัย
อัตถิ อุณหิสสะ วิชะโย ธัมโม โลเก อะนุตตะโร
สัพพะสัตตะหิตัตถายะ ตัง ตวัง คัณหาหิ เทวะเต
ปะริวัชเช ราชะทัณเฑ อะมะนุสเสหิ ปาวะเก
พยัคเฆ นาเค วิเส ภูเต อะกาละมะระเณนะ วา
สัพพัสมา มะระณา มุตโต ฐะเปตวา กาละมาริตัง
ตัสเสวะ อานุภาเวนะ โหตุ เทโว สุขี สะทา
สุทธะสัลัง สะมาทายะ ธัมมัง สุจะริตัง จะเร
ตัสเสวะ อานุภาเวนะ โหตุ เทโว สุขี สะทา
ลิกขิตัง จินติตัง ปูชัง ธาระณัง วาจะณัง คะรุง
ปะเรสัง เทสะนัง สุตวา ตัสสะ อายุ ปะวัฑฒะตีติ
คำขอขมาพระรัตนตรัย
อุกาสะ อัจจะโย โน ภันเต อัจจัคคะมา ยะถาพาเล
ยะถามุฬเห ยะถาอะกุสะเล เย มะยัง กะรัมหา เอวัง
ภันเต มะยัง อัจจะโย โน ปะฏิคัณหะถะ อายะติง สังวะเรยยามิ
ใช้สำหรับคนที่ดวงชะตาขาดภาวนาเป็นการต่อชะตาชีวิต บุคคลทั่วไปก็ใช้ได้ จะทำให้เกิดโชคลาภ อำนาจ บริวาร ปราศจากอันตราย และภัย
อัตถิ อุณหิสสะ วิชะโย ธัมโม โลเก อะนุตตะโร
สัพพะสัตตะหิตัตถายะ ตัง ตวัง คัณหาหิ เทวะเต
ปะริวัชเช ราชะทัณเฑ อะมะนุสเสหิ ปาวะเก
พยัคเฆ นาเค วิเส ภูเต อะกาละมะระเณนะ วา
สัพพัสมา มะระณา มุตโต ฐะเปตวา กาละมาริตัง
ตัสเสวะ อานุภาเวนะ โหตุ เทโว สุขี สะทา
สุทธะสัลัง สะมาทายะ ธัมมัง สุจะริตัง จะเร
ตัสเสวะ อานุภาเวนะ โหตุ เทโว สุขี สะทา
ลิกขิตัง จินติตัง ปูชัง ธาระณัง วาจะณัง คะรุง
ปะเรสัง เทสะนัง สุตวา ตัสสะ อายุ ปะวัฑฒะตีติ
คำขอขมาพระรัตนตรัย
อุกาสะ อัจจะโย โน ภันเต อัจจัคคะมา ยะถาพาเล
ยะถามุฬเห ยะถาอะกุสะเล เย มะยัง กะรัมหา เอวัง
ภันเต มะยัง อัจจะโย โน ปะฏิคัณหะถะ อายะติง สังวะเรยยามิ
วันเสาร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2552
อิสระทางความคิด
เว็บไซท์นี้ทางผู้จัดทำมีจุดมุ่งหมายคือการแจกธรรมมะ เป็นธรรมทาน เพื่อสร้างบุญกุศลตามความเชื่อของผู้จัดทำ ไม่ได้มีเจตนาลบหลู่หรือดูหมิ่นสถาบันแต่ประการใด แต่เป็นการเผยแพร่และสืบทอดเจตนารมณ์ของผู้จัดทำ โดยสอกแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับความบันเทิงตามยุคสมัย เพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกและก่อเกิดประโยชน์ โดยสอดแทรกความรู้ต่างๆ ไม่ได้มีเจนตนาสร้างเพื่อ ทำลาย หรือ ประจาน หรือการลามากอนาจารใดๆทั้งสิ้น
สมาธิ
.
สมาธิคืออะไร?[ 1 ม.ค. 2549 ]
เมื่อกล่าวถึงสมาธิ ต้องเข้าใจในเบื้องต้นว่า สมาธิมิใช่เรื่องของ ฤๅษี ชีไพรหรือมิใช่เป็นเรื่องที่ประพฤติปฏิบัติได ้เฉพาะผู้ที่เป็นนักบวชเท่านั้น แต่สมาธิเป็นเรื่องของการฝึกฝนอบรมจิตใจ และเป็นการพัฒนาจิตใจให้มีความมั่นคง ตั้งมั่น และทำให้มีคุณภาพทางจิตใจที่ดีขึ้น ซึ่งในทางพระพุทธศาสนานั้น สมาธิสามารถประพฤติปฏิบัติได้ ทั้งเพื่อประโยชน์ต่อความมีชีวิตที่อยู่เป็นสุขในเพศภาวะของผู้ที่ยังครอง เรือน และยังเป็นการปฏิบัติเพื่อนำไปสู่ความหลุดพ้นสำหรับผู้ที่เป็นนักบวชอีกด้วย แต่อย่างไรก็ตาม สมาธิ ถือเป็นเรื่องสากล กล่าวคือ มิใช่เฉพาะพุทธศาสนิกชนเท่านั้นที่จะสามารถปฏิบัติสมาธิได้ แม้ผู้ที่นับถือศาสนาอื่นก็สามารถปฏิบัติสมาธิได้เช่นเดียวกัน ทั้งนี้ การฝึกสมาธิจะเน้นให้ความสำคัญของการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง เพราะนอกจากจะทำให้ผู้ปฏิบัติเห็นผลด้วยตนเองแล้ว หากมีข้อสงสัยในเชิงปฏิบัติ ก็สามารถที่จะสอบถามจากผู้รู้ผู้ชำนาญได้อย่างตรงเป้าหมายหรือตรงต่อ ประสบการณ์ที่ตนเองได้ปฏิบัติมา และถึงแม้จะมีการอธิบายรายละเอียดความรู้ของสมาธิในเชิงทฤษฎี แต่กระนั้นก็มิอาจจะที่จะละเลยสมาธิในเชิงปฏิบัติได้
ความหมายของสมาธิ
การอธิบายความหมายของสมาธิ สามารถอธิบายได้ทั้งในเชิงลักษณะผลของสมาธิที่เกิดขึ้นและอธิบายในลักษณะในเชิงการปฏิบัติ เช่น สมาธิ คือความสงบ สบาย และความรู้สึกเป็นสุขอย่างยิ่งที่มนุษย์สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง เป็นข้อควรปฏิบัติ เพื่อการดำรงชีวิตทุกวันอย่างเป็นสุข ไม่ประมาท เต็มไปด้วยสติสัมปชัญญะและปัญญา อันเป็นเรื่องไม่เหลือวิสัย ทุกคนสามารถปฏิบัติได้ง่ายๆ
ความหมายในเชิงลักษณะผลของสมาธิ
สมาธิ คือ อาการที่ใจตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดียวอย่างต่อเนื่อง หรือ อาการที่ใจหยุดนิ่งแน่วแน่ ไม่ซัดส่ายไปมา เป็นอาการที่ใจสงบรวมเป็นหนึ่งแน่วแน่ มีแต่ความบริสุทธิ์ผ่องใส สว่างไสวผุดขึ้นในใจ จนกระทั่งสามารถเห็นความบริสุทธิ์นั้นด้วยใจตนเอง อันจะก่อให้เกิดทั้งกำลังใจ กำลังขวัญ กำลังปัญญา และความสุขแก่ผู้ปฏิบัติในเวลาเดียวกัน1
ความหมายในเชิงลักษณะการปฎิบัติสมาธิ
กล่าวอีกนัยหนึ่งในเชิงลักษณะการปฏิบัติ สมาธิ แปลว่า ความตั้งมั่นของจิต หรือภาวะที่จิตแน่วแน่ต่อสิ่งที่กำหนด หรือการที่จิตกำหนดแน่วแน่อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ไม่ฟุ้งซ่าน
สมาธิคืออะไร?[ 1 ม.ค. 2549 ]
เมื่อกล่าวถึงสมาธิ ต้องเข้าใจในเบื้องต้นว่า สมาธิมิใช่เรื่องของ ฤๅษี ชีไพรหรือมิใช่เป็นเรื่องที่ประพฤติปฏิบัติได ้เฉพาะผู้ที่เป็นนักบวชเท่านั้น แต่สมาธิเป็นเรื่องของการฝึกฝนอบรมจิตใจ และเป็นการพัฒนาจิตใจให้มีความมั่นคง ตั้งมั่น และทำให้มีคุณภาพทางจิตใจที่ดีขึ้น ซึ่งในทางพระพุทธศาสนานั้น สมาธิสามารถประพฤติปฏิบัติได้ ทั้งเพื่อประโยชน์ต่อความมีชีวิตที่อยู่เป็นสุขในเพศภาวะของผู้ที่ยังครอง เรือน และยังเป็นการปฏิบัติเพื่อนำไปสู่ความหลุดพ้นสำหรับผู้ที่เป็นนักบวชอีกด้วย แต่อย่างไรก็ตาม สมาธิ ถือเป็นเรื่องสากล กล่าวคือ มิใช่เฉพาะพุทธศาสนิกชนเท่านั้นที่จะสามารถปฏิบัติสมาธิได้ แม้ผู้ที่นับถือศาสนาอื่นก็สามารถปฏิบัติสมาธิได้เช่นเดียวกัน ทั้งนี้ การฝึกสมาธิจะเน้นให้ความสำคัญของการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง เพราะนอกจากจะทำให้ผู้ปฏิบัติเห็นผลด้วยตนเองแล้ว หากมีข้อสงสัยในเชิงปฏิบัติ ก็สามารถที่จะสอบถามจากผู้รู้ผู้ชำนาญได้อย่างตรงเป้าหมายหรือตรงต่อ ประสบการณ์ที่ตนเองได้ปฏิบัติมา และถึงแม้จะมีการอธิบายรายละเอียดความรู้ของสมาธิในเชิงทฤษฎี แต่กระนั้นก็มิอาจจะที่จะละเลยสมาธิในเชิงปฏิบัติได้
ความหมายของสมาธิ
การอธิบายความหมายของสมาธิ สามารถอธิบายได้ทั้งในเชิงลักษณะผลของสมาธิที่เกิดขึ้นและอธิบายในลักษณะในเชิงการปฏิบัติ เช่น สมาธิ คือความสงบ สบาย และความรู้สึกเป็นสุขอย่างยิ่งที่มนุษย์สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง เป็นข้อควรปฏิบัติ เพื่อการดำรงชีวิตทุกวันอย่างเป็นสุข ไม่ประมาท เต็มไปด้วยสติสัมปชัญญะและปัญญา อันเป็นเรื่องไม่เหลือวิสัย ทุกคนสามารถปฏิบัติได้ง่ายๆ
ความหมายในเชิงลักษณะผลของสมาธิ
สมาธิ คือ อาการที่ใจตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดียวอย่างต่อเนื่อง หรือ อาการที่ใจหยุดนิ่งแน่วแน่ ไม่ซัดส่ายไปมา เป็นอาการที่ใจสงบรวมเป็นหนึ่งแน่วแน่ มีแต่ความบริสุทธิ์ผ่องใส สว่างไสวผุดขึ้นในใจ จนกระทั่งสามารถเห็นความบริสุทธิ์นั้นด้วยใจตนเอง อันจะก่อให้เกิดทั้งกำลังใจ กำลังขวัญ กำลังปัญญา และความสุขแก่ผู้ปฏิบัติในเวลาเดียวกัน1
ความหมายในเชิงลักษณะการปฎิบัติสมาธิ
กล่าวอีกนัยหนึ่งในเชิงลักษณะการปฏิบัติ สมาธิ แปลว่า ความตั้งมั่นของจิต หรือภาวะที่จิตแน่วแน่ต่อสิ่งที่กำหนด หรือการที่จิตกำหนดแน่วแน่อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ไม่ฟุ้งซ่าน
ความหมายในเชิงเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย
พระราชภาวนาวิสุทธิ์2 ได้ให้ความหมายของการทำสมาธิภาวนาในเชิงของการปฏิบัติว่า การทำสมาธิก็คือการทำใจของเราให้หยุดนิ่ง อยู่ภายในกลางกายของเรา กล่าวคือการดึงใจกลับเข้ามาสู่ภายใน อยู่กับเนื้อกับตัวของเรา ในอารมณ์ที่สบาย เป็นการดึงใจที่ซัดส่ายไปในอารมณ์ต่าง ๆ ในความคิดต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องครอบครัว ธุรกิจการงาน การศึกษาเล่าเรียน เรื่องสนุกสนานเฮฮา หรือเรื่องอะไรที่นอกเหนือจากนี้ก็ตาม ดึงกลับมาไว้อยู่กับตัวของเราให้มามีอารมณ์เดียว ใจเดียว ซึ่งท่านได้อ้างอิงถึงพระมงคลเทพมุนี(หลวงปู่วัดปากน้ำฯ) ซึ่งได้เคยอธิบายเรื่องการทำสมาธิว่า คือการทำให้ความเห็น ความจำ ความคิด ความรู้ รวมหยุดเป็นจุดเดียว หรือให้รวมหยุดเป็นจุดเดียวในอารมณ์ที่สบายที่กลางกายของเรา ซึ่งวิธีที่จะทำให้เกิดสมาธิเพื่อการเข้าถึงธรรมกายก็คือฝึกใจให้หยุดให้ นิ่งอยู่ภายใน
1พระภาวนาวิริยคุณ(เผด็จ ทัตตชีโว), [2545] พระแท้, ปทุมธานี, หน้า 210.2 พระราชภาวนาวิสุทธิ์, [2537] บทพระธรรมเทศนา วันอาทิตย์ต้นเดือน,( 6 พฤศจิกายน 2537) ปทุมธานี.
สมาธิมีกี่ประเภท?[ 1 ม.ค. 2549 ] - [ ผู้อ่าน : 18643 ]
โดยปกติแล้ว มนุษย์ย่อมจะเกลียดความทุกข์และมุ่งแสวงหาความสุขให้กับตนเอง แต่ความสุขที่ ต่างคนต่างแสวงหานั้น ส่วนใหญ่เป็นเพียงความสุขที่ให้ผลชั่วครั้งชั่วคราวหรือเป็นความสุขภายนอก ที่ยังไม่สามารถทำให้จิตใจคลายจากรากเหง้าของความทุกข์และนำไปสู่ความสุข ที่ถาวรได้ ทั้งนี้ เพราะมนุษย์ส่วนใหญ่นั้น ยังไม่เข้าใจว่าความทุกข์ที่เกิดขึ้นในจิตใจนั้น จะต้องแก้ที่จิตใจ หาใช่แก้ที่ร่างกายหรือสิ่งที่เป็นปัจจัยภายนอก เช่น มีการเสพยาเสพติด การเที่ยวเตร่เฮฮา ซึ่งเป็นการทำให้จิตใจเพลิดเพลิน ลืมความทุกข์ไปชั่วขณะ แต่ในที่สุดก็หาได้ทำให้พ้นจากความทุกข์ดังกล่าวได้ ดังนั้น การทำสมาธิ จึงเป็นวิธีการที่สำคัญที่จะนำไปสู่การแก้ไขปัญหาและนำไปสู่การพ้นจากความ ทุกข์ได้อย่างแท้จริง ดังจะพบว่าปัจจุบัน ผู้คนในสังคมต่างๆ โดยเฉพาะในสังคมของประเทศตะวันตก เริ่มให้ความสนใจกับการฝึกสมาธิกันแพร่หลายมากขึ้น
แต่อย่างไรก็ตาม การฝึกสมาธิที่มีการสอนกันโดยทั่วไปนั้น มีวัตถุประสงค์แตกต่างกัน เช่น เพื่อการแสดงฤทธิ์ทางใจในรูปของการปลุกเสก ร่ายคาถา อาคม เป็นต้น ซึ่งย่อมทำให้ผู้คนเกิดศรัทธา ชื่นชม ยกย่องในความเก่งกล้าสามารถ หรือการฝึกสมาธิบางประเภทก็มุ่งเพื่อการเจริญสติ ก่อให้เกิดปัญญา นำไปสู่ทางพ้นทุกข์ หากจะอธิบายโดยทั่วไปได้คือ สมาธิที่มีการสอนในโลกนี้สามารถจัดแบ่งได้หลายประเภทตามหลักปฏิบัติ วิธีการ หรืออื่นๆ มากมาย ในเบื้องต้นนี้ สมาธิสามารถจัดแบ่งเป็นประเภทได้ ดังต่อไปนี้ คือ
สัมมาสมาธิ
มิจฉาสมาธิ
1. สัมมาสมาธิ
การ ฝึกสมาธิเพื่อให้เกิดประโยชน์และคุณค่า ผู้ฝึกหรือผู้ปฏิบัติย่อมต้องการที่จะฝึกหรือปฏิบัติในแนวทางที่ถูกต้อง ซึ่งนอกจากจะฝึกหรือปฏิบัติได้ถูกต้องแล้ว จำเป็นจะต้องทราบว่าวัตถุประสงค์ของการฝึกหรือปฏิบัติเพื่ออะไร ทั้งนี้การฝึกสมาธิในแนวทางที่ถูกต้องในทางพระพุทธศาสนาเรียกว่าสัมมาสมาธิ และสัมมาสมาธินั้น โดยความหมายทั่วไป หมายถึงการตั้งจิตมั่นชอบ ซึ่งในพระไตรปิฎกได้กล่าวถึงสัมมาสมาธิไว้หลายแห่ง โดยได้อธิบายความหมาย ตลอดจนลักษณะของสัมมาสมาธิไว้ หลายแห่งดังนี้
สัมมาสมาธิเป็นไฉน ?
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้า ถึงปฐมฌานมีวิตกวิจารมีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ เธอเข้าถึงทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น เพราะวิตกวิจารสงบไป ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิอยู่ เธอมีอุเบกขา มีสติ มีสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป เข้าถึงตติยฌาน ที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข เธอเข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขและทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อน ๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่ อันนี้เรียกว่า สัมมาสมาธิ ดูก่อนภิกษุทั้งหลายอันนี้เรียกว่า ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ.1
จาก ความที่ยกนำมากล่าวนี้ แสดงว่าสัมมาสมาธิ จะมีความสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เมื่อเข้าถึงปฐมฌาน จนกระทั่งถึงจตุตถฌานแล้ว จะมีสภาวะที่ไม่สุข ไม่ทุกข์ และเป็นอุเบกขา จนมีสติบริสุทธิ์ นอกจากนี้ ในพระไตรปิฎกยังกล่าวถึงลักษณะของสัมมาสมาธิไว้ดังนี้
1.ลักษณะของสัมมาสมาธิคือการที่จิตไม่ฟุ้งซ่าน2 2.สัมมาสมาธิ มีความตั้งมั่นแห่งจิตโดยชอบเป็นลักษณะ3
ส่วนในพระอภิธรรมปิฎก4 ได้กล่าวถึงลักษณะของจิตที่เป็นสัมมาสมาธิว่า
สัมมาสมาธิ มีในสมัยนั้น เป็นไฉน ? ความตั้งอยู่แห่งจิต ความดำรงอยู่แห่งจิต ความมั่นอยู่แห่งจิต ความไม่ส่ายไปแห่งจิต ความไม่ฟุ้งซ่านแห่งจิต ภาวะที่จิตไม่ส่ายไป ความสงบ สมาธินทรีย์ สมาธิพละ ความตั้งใจชอบ ในสมัยนั้น อันใด นี้ชื่อว่า สัมมาสมาธิมีในสมัยนั้น.
จาก ลักษณะของสัมมาสมาธิที่กล่าวนี้ ในพระไตรปิฎกยังแสดงให้เห็นว่า สัมมาสมาธิมีคุณูปการแก่ผู้ฝึกหรือผู้ปฏิบัติ โดยเมื่อจิตไม่ฟุ้งซ่านและมีความตั้งมั่นแห่งจิตแล้ว ย่อมขจัดมิจฉาสมาธิ ตลอดจนกิเลสได้ ดังความในพราหมณสูต5 กล่าวถึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสไว้อีกตอนหนึ่งว่า สัมมาสมาธิที่บุคคลเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว มีการกำจัดราคะเป็นที่สุด มีการกำจัดโทสะเป็นที่สุด มีการกำจัดโมหะเป็นที่สุด.
จาก ความข้างต้น แสดงให้ทราบว่า สัมมาสมาธิสามารถขจัดมิจฉาสมาธิ ตลอดจนกิเลสและความฟุ้งซ่าน สามารถทำให้ผู้ปฏิบัติเข้าสู่เป้าหมายสูงสุดคือพระนิพพานได้ ดังความในปปัญจสูทนี อรรถกถามัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ กล่าวไว้ดังนี้
สัมมา สมาธิ (เมื่อเกิดขึ้น) ย่อมละมิจฉาสมาธิ กิเลสที่เป็นข้าศึกต่อสัมมาสมาธิและความฟุ้งซ่านนั้นได้ กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์ และย่อมตั้งมั่นสัมปยุตธรรมทั้งหลายไว้โดยชอบ เพราะฉะนั้น จึงเรียกว่า สัมมาสมาธิ.6
สรุปได้ว่า การจะฝึกสมาธินั้น บุคคลจะต้องยึดหลักการฝึกแบบสัมมาสมาธิ กล่าวคือ ฝึกเพื่อการทำให้ใจสงบ ระงับจากกาม ปราศจากอกุศลธรรมทั้งหลาย และไม่ฟุ้งซ่าน จนกระทั่งจิตตั้งมั่น ไม่ซัดส่าย ก็จะสามารถทำให้การฝึกและปฏิบัติของบุคคลนั้น ถูกต้อง ตรงต่อพระพุทธธรรมคำสอน จนสามารถบรรลุถึงเป้าหมาย คือพระนิพพานได้ ทั้งนี้ การที่จะจิตจะไม่ฟุ้งซ่าน จิตจะต้องไม่คิดหรือตรึกในสิ่งที่จะทำให้จิตเกิดราคะ โทสะ โมหะ ซึ่งในพระไตรปิฎก ได้กล่าวถึงลักษณะของจิตฟุ้งซ่านว่า จะมีลักษณะที่ซัดส่ายไปข้างนอก คือซัดส่ายไปในอารมณ์ คือกามคุณ ทำให้มีความพอใจในกามคุณ 5 อย่าง คือ รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ซึ่งทำให้จิตระคนปนเจือไปด้วยความตรึกไปในกาม7
1 พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ สติปัฏฐานสูตร เล่ม 17 หน้า 628-9 2 (ปปัญจสูทนี อรรถกถามัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่ม 17 หน้า 112) 3 (ปปัญจสูทนี อรรถกถามัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่ม 17 หน้า 250) 4 พระอภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณี จิตตุปปาทกัณฑ์ กามาวจรกุศล เล่ม 75 หน้า 360-1 5 พราหมณสูตรและอรรถกถา เล่ม 30 หน้า 13 6 ปปัญจสูทนี อรรถกถามัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่ม 17 หน้า 252 7 สารัตถปกาสินี อรรถกถาสังยุตตนิกาย มหาวารวรรค เล่ม 31 หน้า 166
การ ฝึกสมาธิเพื่อให้เกิดประโยชน์และคุณค่า ผู้ฝึกหรือผู้ปฏิบัติย่อมต้องการที่จะฝึกหรือปฏิบัติในแนวทางที่ถูกต้อง ซึ่งนอกจากจะฝึกหรือปฏิบัติได้ถูกต้องแล้ว จำเป็นจะต้องทราบว่าวัตถุประสงค์ของการฝึกหรือปฏิบัติเพื่ออะไร ทั้งนี้การฝึกสมาธิในแนวทางที่ถูกต้องในทางพระพุทธศาสนาเรียกว่าสัมมาสมาธิ และสัมมาสมาธินั้น โดยความหมายทั่วไป หมายถึงการตั้งจิตมั่นชอบ ซึ่งในพระไตรปิฎกได้กล่าวถึงสัมมาสมาธิไว้หลายแห่ง โดยได้อธิบายความหมาย ตลอดจนลักษณะของสัมมาสมาธิไว้ หลายแห่งดังนี้
สัมมาสมาธิเป็นไฉน ?
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้า ถึงปฐมฌานมีวิตกวิจารมีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ เธอเข้าถึงทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น เพราะวิตกวิจารสงบไป ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิอยู่ เธอมีอุเบกขา มีสติ มีสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป เข้าถึงตติยฌาน ที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข เธอเข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขและทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อน ๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่ อันนี้เรียกว่า สัมมาสมาธิ ดูก่อนภิกษุทั้งหลายอันนี้เรียกว่า ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ.1
จาก ความที่ยกนำมากล่าวนี้ แสดงว่าสัมมาสมาธิ จะมีความสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เมื่อเข้าถึงปฐมฌาน จนกระทั่งถึงจตุตถฌานแล้ว จะมีสภาวะที่ไม่สุข ไม่ทุกข์ และเป็นอุเบกขา จนมีสติบริสุทธิ์ นอกจากนี้ ในพระไตรปิฎกยังกล่าวถึงลักษณะของสัมมาสมาธิไว้ดังนี้
1.ลักษณะของสัมมาสมาธิคือการที่จิตไม่ฟุ้งซ่าน2 2.สัมมาสมาธิ มีความตั้งมั่นแห่งจิตโดยชอบเป็นลักษณะ3
ส่วนในพระอภิธรรมปิฎก4 ได้กล่าวถึงลักษณะของจิตที่เป็นสัมมาสมาธิว่า
สัมมาสมาธิ มีในสมัยนั้น เป็นไฉน ? ความตั้งอยู่แห่งจิต ความดำรงอยู่แห่งจิต ความมั่นอยู่แห่งจิต ความไม่ส่ายไปแห่งจิต ความไม่ฟุ้งซ่านแห่งจิต ภาวะที่จิตไม่ส่ายไป ความสงบ สมาธินทรีย์ สมาธิพละ ความตั้งใจชอบ ในสมัยนั้น อันใด นี้ชื่อว่า สัมมาสมาธิมีในสมัยนั้น.
จาก ลักษณะของสัมมาสมาธิที่กล่าวนี้ ในพระไตรปิฎกยังแสดงให้เห็นว่า สัมมาสมาธิมีคุณูปการแก่ผู้ฝึกหรือผู้ปฏิบัติ โดยเมื่อจิตไม่ฟุ้งซ่านและมีความตั้งมั่นแห่งจิตแล้ว ย่อมขจัดมิจฉาสมาธิ ตลอดจนกิเลสได้ ดังความในพราหมณสูต5 กล่าวถึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสไว้อีกตอนหนึ่งว่า สัมมาสมาธิที่บุคคลเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว มีการกำจัดราคะเป็นที่สุด มีการกำจัดโทสะเป็นที่สุด มีการกำจัดโมหะเป็นที่สุด.
จาก ความข้างต้น แสดงให้ทราบว่า สัมมาสมาธิสามารถขจัดมิจฉาสมาธิ ตลอดจนกิเลสและความฟุ้งซ่าน สามารถทำให้ผู้ปฏิบัติเข้าสู่เป้าหมายสูงสุดคือพระนิพพานได้ ดังความในปปัญจสูทนี อรรถกถามัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ กล่าวไว้ดังนี้
สัมมา สมาธิ (เมื่อเกิดขึ้น) ย่อมละมิจฉาสมาธิ กิเลสที่เป็นข้าศึกต่อสัมมาสมาธิและความฟุ้งซ่านนั้นได้ กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์ และย่อมตั้งมั่นสัมปยุตธรรมทั้งหลายไว้โดยชอบ เพราะฉะนั้น จึงเรียกว่า สัมมาสมาธิ.6
สรุปได้ว่า การจะฝึกสมาธินั้น บุคคลจะต้องยึดหลักการฝึกแบบสัมมาสมาธิ กล่าวคือ ฝึกเพื่อการทำให้ใจสงบ ระงับจากกาม ปราศจากอกุศลธรรมทั้งหลาย และไม่ฟุ้งซ่าน จนกระทั่งจิตตั้งมั่น ไม่ซัดส่าย ก็จะสามารถทำให้การฝึกและปฏิบัติของบุคคลนั้น ถูกต้อง ตรงต่อพระพุทธธรรมคำสอน จนสามารถบรรลุถึงเป้าหมาย คือพระนิพพานได้ ทั้งนี้ การที่จะจิตจะไม่ฟุ้งซ่าน จิตจะต้องไม่คิดหรือตรึกในสิ่งที่จะทำให้จิตเกิดราคะ โทสะ โมหะ ซึ่งในพระไตรปิฎก ได้กล่าวถึงลักษณะของจิตฟุ้งซ่านว่า จะมีลักษณะที่ซัดส่ายไปข้างนอก คือซัดส่ายไปในอารมณ์ คือกามคุณ ทำให้มีความพอใจในกามคุณ 5 อย่าง คือ รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ซึ่งทำให้จิตระคนปนเจือไปด้วยความตรึกไปในกาม7
1 พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ สติปัฏฐานสูตร เล่ม 17 หน้า 628-9 2 (ปปัญจสูทนี อรรถกถามัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่ม 17 หน้า 112) 3 (ปปัญจสูทนี อรรถกถามัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่ม 17 หน้า 250) 4 พระอภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณี จิตตุปปาทกัณฑ์ กามาวจรกุศล เล่ม 75 หน้า 360-1 5 พราหมณสูตรและอรรถกถา เล่ม 30 หน้า 13 6 ปปัญจสูทนี อรรถกถามัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่ม 17 หน้า 252 7 สารัตถปกาสินี อรรถกถาสังยุตตนิกาย มหาวารวรรค เล่ม 31 หน้า 166
ประเภทของสมาธิ
2. มิจฉาสมาธิ
มิจฉาสมาธิ โดยความหมายที่ตรงข้ามกับสัมมาสมาธินั้น ก็หมายถึงการตั้งมั่นจิตที่ไม่ชอบ หรือ การที่จิตตั้งมั่นในสิ่งที่ผิด ซึ่งในพระไตรปิฎ1 ได้อธิบายว่าที่ชื่อว่า มิจฉาสมาธิ เพราะตั้งมั่นตามความไม่เป็นจริง ดังนั้น มิจฉาสมาธิจึงเป็นสิ่งที่แตกต่างจากสัมมาสมาธิ นั่นคือ มิจฉาสมาธิจะทำให้จิตซัดส่าย ฟุ้งซ่าน เป็นสภาพจิตที่
ส่งออกนอกเพื่อไปมีความพอใจในกามคุณ 5 อย่าง คือ รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ซึ่งทำให้จิตระคนปนเจือไปด้วยความตรึกไปในกาม ดังนั้น มิจฉาสมาธิจึงเป็นสิ่งที่ไม่สามารถทำให้กิเลสคือ โลภะ โทสะ และโมหะ เบาบางลงได้ และไม่ใช่หนทางที่จะทำให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดคือ พระนิพพานได้ ทั้งนี้ในพระไตรปิฎกได้อธิบายไว้อีกว่า
มิจฉาสมาธิ มีในสมัยนั้น เป็นไฉน?ความตั้งอยู่แห่งจิต ความดำรงอยู่แห่งจิต ความมั่นอยู่แห่งจิต ความไม่ ส่ายไปแห่งจิต ความไม่ฟุ้งซ่านแห่งจิต ภาวะที่จิตไม่ส่ายไป ความสงบ สมาธินทรีย์ สมาธิพละ ความตั้งใจผิด ในสมัยนั้น อันใด นี้ชื่อว่า มิจฉาสมาธิมีในสมัยนั้น2
ดังนั้น การฝึกสมาธิ จึงต้องยึดปฏิบัติตามหลักสัมมาสมาธิ ด้วยการไม่ส่งใจไปเกาะเกี่ยวกับกามคุณ ไม่ปล่อยใจให้ซัดส่ายเพลิดเพลินใน รูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัสทางกาย โดยในทางตรงข้าม จะต้องน้อมใจให้อยู่ภายในกาย ให้ตั้งมั่น ไม่ซัดส่าย ไม่ฟุ้งซ่าน หมั่นพิจารณาสภาวะที่ปรากฏตามความเป็นจริง พร้อมด้วยการละโทสะ โมหะ และโทสะ ที่เกิดขึ้นในใจของตน อันจะสามารถนำไปสู่ทางพ้นทุกข์ และจะทำให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดในทางพระพุทธศาสนาได้
ประเภทของสมาธิจำแนกตามการวางใจ
สมาธิสามารถจำแนกได้ตามวิธีการกำหนดวางที่ตั้งของใจ หรือแบ่งตามที่ตั้งของใจในขณะที่เจริญสมาธิ ได้ 3 ประเภท ดังนี้ คือ1. ประเภทวางใจไว้นอกร่างกาย2. ประเภทวางใจในตัวส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย3. ประเภทวางใจไว้ในร่างกายที่ศูนย์กลางกาย
1. ประเภทวางใจไว้นอกร่างกาย
วิธีส่งจิตหรือใจออกข้างนอก เป็นวิธีที่ส่วนใหญ่ในโลกนี้ได้ใช้ฝึกกัน คือเอาใจส่งออกไปข้างนอกกาย เพราะเป็นวิธีการที่ง่าย เนื่องจากปกติคนส่วนใหญ่มักมีนิสัยชอบมองไปข้างนอก ดังนั้นการส่งจิตออกไปข้างนอกจึงสบาย ง่าย และทำได้กันเกือบจะทุกคน แต่ข้อเสียก็มี คือจะมีภาพนิมิตลวงเกิดขึ้นมา เป็นนิมิตเลื่อนลอยไม่ใช่ของจริงเกิดขึ้น บางนิมิตก็น่าเพลิดเพลิน บางนิมิตเห็นแล้วก็น่าสะดุ้งหวาดเสียว ถ้าหากว่าได้ครูที่ไม่ชำนาญ ไม่มีประสบการณ์เป็นผู้แนะนำ จะทำให้จิตออกไปข้างนอก และเป็นสาเหตุที่ทำให้ได้ยินบ่อยครั้งว่าการปฏิบัติธรรมฝึกจิตเป็นเหตุให้ เป็นบ้า ซึ่งที่จริงเกิดจากการวางใจไว้ผิดที่ โดยเอาออกไปสู่ข้างนอก เพราะฉะนั้นสิ่งที่เกิดขึ้นมาจึงผิดมากกว่าถูก เก้าสิบกว่าเปอร์เซ็นต์ในโลกนี้ฝึกจิตด้วยวิธีการแบบนี้ ไม่ทางสู่ความพ้นทุกข์ ไม่เข้าถึงสรณะ เข้าไม่ถึงที่พึ่งที่ระลึกภายในตัว และเป็นโอกาสให้หลงตัวเอง พลาดพลั้ง และเดินผิดทางได้
2. ประเภทวางใจในตัวส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
ประเภทที่ 2 จะเป็นการเอาใจมาไว้ข้างใน หรือคือการเอาความรู้สึกอยู่ภายในแล้วก็หยุดนิ่งเฉย ๆ ลอยๆ อยู่ภายในตัวของเราตามฐานต่างๆ ส่วนใหญ่แล้วมักจะอยู่ที่บริเวณทรวงอก แล้วหยุดนิ่งสงบ มีความเย็นกายเย็นใจเกิดขึ้น มีสติ มีปัญญา มีความรู้รอบตัวเกิดขึ้นบ้าง ซึ่งการปฏิบัติด้วยวิธีที่สองนี้มีอยู่น้อยในโลก วิธีอย่างนี้ยังถือว่าถูกมากกว่าผิด เช่น ถ้าจิตฝึกฝนด้วยการปล่อยวางทุกสิ่งทุกอย่างในโลก ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรทั้งสิ้น แล้วก็ปล่อยให้สงบนิ่ง อยู่ภายในตัว จะทำให้รู้สึกมีความสุขอยู่ภายใน และการทำสมาธิแบบนี้จะทำให้มีความรู้สึกว่าเราไม่ติดอะไรเลย ไม่ยินดียินร้าย ปล่อยวางสงบ สว่างเย็น อยู่เฉยๆ อยู่ภายใน จะไม่ค่อยมีนิมิตเลื่อนลอยเกิดขึ้น เพราะว่าปล่อยวางหมด เอาแต่ความบริสุทธิ์ผ่องใสอย่างเดียว ให้สงบเย็น ความรู้ต่าง ๆ ก็เกิดขึ้นกว้างขวางกว่าเดิมมาก แต่ก็ยังเข้าไปไม่ถึงการพิจารณากายในกาย เวทนาในเวทนา จิตในจิต และธรรมในธรรม จึงยังไม่ได้ชื่อว่าเข้าถึงไตรสรณคมน์ หรือหนทางพ้นทุกข์ได้อย่างสิ้นเชิง
3. ประเภทวางใจไว้ในร่างกายที่ศูนย์กลางกาย
ประเภทที่ 3 เป็นการฝึกใจโดยการเอาใจมาหยุดนิ่งภายในกลางกาย หรืออยู่ที่ตรงฐานที่ 7 หยุดจนกระทั่งถูกส่วน แล้วเห็นปฐมมรรคเกิดขึ้นมาเป็นดวงสว่าง ได้ดำเนินจิตเข้าไปในทางนั้น กลางของกลางปรากฏการณ์นั้น เข้าไปเรื่อย ๆ โดยเอามรรคมีองค์แปดประการขึ้นมาเป็นเครื่องปฏิบัติ
2. มิจฉาสมาธิ
มิจฉาสมาธิ โดยความหมายที่ตรงข้ามกับสัมมาสมาธินั้น ก็หมายถึงการตั้งมั่นจิตที่ไม่ชอบ หรือ การที่จิตตั้งมั่นในสิ่งที่ผิด ซึ่งในพระไตรปิฎ1 ได้อธิบายว่าที่ชื่อว่า มิจฉาสมาธิ เพราะตั้งมั่นตามความไม่เป็นจริง ดังนั้น มิจฉาสมาธิจึงเป็นสิ่งที่แตกต่างจากสัมมาสมาธิ นั่นคือ มิจฉาสมาธิจะทำให้จิตซัดส่าย ฟุ้งซ่าน เป็นสภาพจิตที่
ส่งออกนอกเพื่อไปมีความพอใจในกามคุณ 5 อย่าง คือ รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ซึ่งทำให้จิตระคนปนเจือไปด้วยความตรึกไปในกาม ดังนั้น มิจฉาสมาธิจึงเป็นสิ่งที่ไม่สามารถทำให้กิเลสคือ โลภะ โทสะ และโมหะ เบาบางลงได้ และไม่ใช่หนทางที่จะทำให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดคือ พระนิพพานได้ ทั้งนี้ในพระไตรปิฎกได้อธิบายไว้อีกว่า
มิจฉาสมาธิ มีในสมัยนั้น เป็นไฉน?ความตั้งอยู่แห่งจิต ความดำรงอยู่แห่งจิต ความมั่นอยู่แห่งจิต ความไม่ ส่ายไปแห่งจิต ความไม่ฟุ้งซ่านแห่งจิต ภาวะที่จิตไม่ส่ายไป ความสงบ สมาธินทรีย์ สมาธิพละ ความตั้งใจผิด ในสมัยนั้น อันใด นี้ชื่อว่า มิจฉาสมาธิมีในสมัยนั้น2
ดังนั้น การฝึกสมาธิ จึงต้องยึดปฏิบัติตามหลักสัมมาสมาธิ ด้วยการไม่ส่งใจไปเกาะเกี่ยวกับกามคุณ ไม่ปล่อยใจให้ซัดส่ายเพลิดเพลินใน รูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัสทางกาย โดยในทางตรงข้าม จะต้องน้อมใจให้อยู่ภายในกาย ให้ตั้งมั่น ไม่ซัดส่าย ไม่ฟุ้งซ่าน หมั่นพิจารณาสภาวะที่ปรากฏตามความเป็นจริง พร้อมด้วยการละโทสะ โมหะ และโทสะ ที่เกิดขึ้นในใจของตน อันจะสามารถนำไปสู่ทางพ้นทุกข์ และจะทำให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดในทางพระพุทธศาสนาได้
ประเภทของสมาธิจำแนกตามการวางใจ
สมาธิสามารถจำแนกได้ตามวิธีการกำหนดวางที่ตั้งของใจ หรือแบ่งตามที่ตั้งของใจในขณะที่เจริญสมาธิ ได้ 3 ประเภท ดังนี้ คือ1. ประเภทวางใจไว้นอกร่างกาย2. ประเภทวางใจในตัวส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย3. ประเภทวางใจไว้ในร่างกายที่ศูนย์กลางกาย
1. ประเภทวางใจไว้นอกร่างกาย
วิธีส่งจิตหรือใจออกข้างนอก เป็นวิธีที่ส่วนใหญ่ในโลกนี้ได้ใช้ฝึกกัน คือเอาใจส่งออกไปข้างนอกกาย เพราะเป็นวิธีการที่ง่าย เนื่องจากปกติคนส่วนใหญ่มักมีนิสัยชอบมองไปข้างนอก ดังนั้นการส่งจิตออกไปข้างนอกจึงสบาย ง่าย และทำได้กันเกือบจะทุกคน แต่ข้อเสียก็มี คือจะมีภาพนิมิตลวงเกิดขึ้นมา เป็นนิมิตเลื่อนลอยไม่ใช่ของจริงเกิดขึ้น บางนิมิตก็น่าเพลิดเพลิน บางนิมิตเห็นแล้วก็น่าสะดุ้งหวาดเสียว ถ้าหากว่าได้ครูที่ไม่ชำนาญ ไม่มีประสบการณ์เป็นผู้แนะนำ จะทำให้จิตออกไปข้างนอก และเป็นสาเหตุที่ทำให้ได้ยินบ่อยครั้งว่าการปฏิบัติธรรมฝึกจิตเป็นเหตุให้ เป็นบ้า ซึ่งที่จริงเกิดจากการวางใจไว้ผิดที่ โดยเอาออกไปสู่ข้างนอก เพราะฉะนั้นสิ่งที่เกิดขึ้นมาจึงผิดมากกว่าถูก เก้าสิบกว่าเปอร์เซ็นต์ในโลกนี้ฝึกจิตด้วยวิธีการแบบนี้ ไม่ทางสู่ความพ้นทุกข์ ไม่เข้าถึงสรณะ เข้าไม่ถึงที่พึ่งที่ระลึกภายในตัว และเป็นโอกาสให้หลงตัวเอง พลาดพลั้ง และเดินผิดทางได้
2. ประเภทวางใจในตัวส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
ประเภทที่ 2 จะเป็นการเอาใจมาไว้ข้างใน หรือคือการเอาความรู้สึกอยู่ภายในแล้วก็หยุดนิ่งเฉย ๆ ลอยๆ อยู่ภายในตัวของเราตามฐานต่างๆ ส่วนใหญ่แล้วมักจะอยู่ที่บริเวณทรวงอก แล้วหยุดนิ่งสงบ มีความเย็นกายเย็นใจเกิดขึ้น มีสติ มีปัญญา มีความรู้รอบตัวเกิดขึ้นบ้าง ซึ่งการปฏิบัติด้วยวิธีที่สองนี้มีอยู่น้อยในโลก วิธีอย่างนี้ยังถือว่าถูกมากกว่าผิด เช่น ถ้าจิตฝึกฝนด้วยการปล่อยวางทุกสิ่งทุกอย่างในโลก ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรทั้งสิ้น แล้วก็ปล่อยให้สงบนิ่ง อยู่ภายในตัว จะทำให้รู้สึกมีความสุขอยู่ภายใน และการทำสมาธิแบบนี้จะทำให้มีความรู้สึกว่าเราไม่ติดอะไรเลย ไม่ยินดียินร้าย ปล่อยวางสงบ สว่างเย็น อยู่เฉยๆ อยู่ภายใน จะไม่ค่อยมีนิมิตเลื่อนลอยเกิดขึ้น เพราะว่าปล่อยวางหมด เอาแต่ความบริสุทธิ์ผ่องใสอย่างเดียว ให้สงบเย็น ความรู้ต่าง ๆ ก็เกิดขึ้นกว้างขวางกว่าเดิมมาก แต่ก็ยังเข้าไปไม่ถึงการพิจารณากายในกาย เวทนาในเวทนา จิตในจิต และธรรมในธรรม จึงยังไม่ได้ชื่อว่าเข้าถึงไตรสรณคมน์ หรือหนทางพ้นทุกข์ได้อย่างสิ้นเชิง
3. ประเภทวางใจไว้ในร่างกายที่ศูนย์กลางกาย
ประเภทที่ 3 เป็นการฝึกใจโดยการเอาใจมาหยุดนิ่งภายในกลางกาย หรืออยู่ที่ตรงฐานที่ 7 หยุดจนกระทั่งถูกส่วน แล้วเห็นปฐมมรรคเกิดขึ้นมาเป็นดวงสว่าง ได้ดำเนินจิตเข้าไปในทางนั้น กลางของกลางปรากฏการณ์นั้น เข้าไปเรื่อย ๆ โดยเอามรรคมีองค์แปดประการขึ้นมาเป็นเครื่องปฏิบัติ
คำว่า มรรค แปลว่าหนทาง หมายความว่าทางเดินของใจ ทางเดินของใจที่จะเข้าไปสู่ภายใน จนกระทั่งหลุดพ้นจากกิเลสอาสวะทั้งหลาย โดยอาศัยศีล สมาธิ ปัญญา เป็นเครื่องกลั่นกรองใจ ให้สะอาด ให้บริสุทธิ์ ให้ผ่องใสขึ้นไปตามลำดับ จนกระทั่งเข้าไปถึงธรรมกายที่บริสุทธิ์หลุดพ้นจากกิเลสอาสวะทั้งหลาย
ตรงฐานที่ 7 ตรงนี้ที่เดียวจึงจะเห็นหนทาง แล้วก็ดำเนินจิตเข้าไปตามลำดับจนกระทั่งเข้าถึงธรรมกาย สิ่งนี้คือหลักในทางพระพุทธศาสนา เป็นหลักของการสร้างความสุขให้กับชีวิตในโลก ใครอยากจะหลุดอยากจะพ้น ก็ต้องทำมรรคให้เกิดขึ้นมา แล้วก็ดำเนินจิตเข้าไปตามลำดับ จนกระทั่งเข้าถึงธรรมกาย
นอกจากนี้ถ้ากล่าวถึงวิธีการในการปฏิบัติสมาธิโดยละเอียดขึ้น จะพบวิธีที่ปรากฏอยู่ในตำราต่างๆ เช่น วิสุทธิมรรค ถึง 40 วิธี3 ซึ่งวิธีทั้ง 40 นั้น ต่างก็มีเป้าหมายอันเดียวกัน คือ การทำใจให้ถูกส่วนและเข้าถึงพระธรรมกายภายใน ถ้าหากว่าเรานำใจของเรามาตั้งไว้ตรงที่ฐานที่ ๗ แล้วก็เริ่มต้นอย่างง่าย ๆ ด้วยวิธีการดังกล่าว จะเริ่มต้นจากกสิณ10 อสุภะ 10 อาหาเร ปฏิกูลสัญญา อนุสติ 10 หรืออะไรก็ตาม อย่างใดอย่างหนึ่ง ถ้าใจหยุดถูกส่วนตรงฐานที่ 7 นี้แล้ว ดำเนินจิตให้เข้าสู่ภายใน และดำเนินจิตเข้าไปตามลำดับ ไม่ช้าก็จะพบธรรมกาย ซึ่งสิ่งนี้มีอยู่แล้วในตัวของพวกเราทุกคน ไม่ใช่เป็นสิ่งใหม่ แต่เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วและสามารถเข้าถึงได้ทุกคนที่ปฏิบัติตามได้อย่าง ถูกวิธี
1 อัฏฐสาลินี อรรถกถาธรรมสังคณี เล่ม 76 หน้า 20 2 พระอภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณี จิตตุปปาทกัณฑ์ อกุศลธรรม เล่ม 76 หน้า 15 3 ได้แก่ กสิณ 10 อสุภะ 10 อนุสสติ 10 อาหาเร ปฏิกูลสัญญา 1 จตุธาตุววัฏฐาน 1 พรหมวิหาร 4 อรูปฌาน 4
ตรงฐานที่ 7 ตรงนี้ที่เดียวจึงจะเห็นหนทาง แล้วก็ดำเนินจิตเข้าไปตามลำดับจนกระทั่งเข้าถึงธรรมกาย สิ่งนี้คือหลักในทางพระพุทธศาสนา เป็นหลักของการสร้างความสุขให้กับชีวิตในโลก ใครอยากจะหลุดอยากจะพ้น ก็ต้องทำมรรคให้เกิดขึ้นมา แล้วก็ดำเนินจิตเข้าไปตามลำดับ จนกระทั่งเข้าถึงธรรมกาย
นอกจากนี้ถ้ากล่าวถึงวิธีการในการปฏิบัติสมาธิโดยละเอียดขึ้น จะพบวิธีที่ปรากฏอยู่ในตำราต่างๆ เช่น วิสุทธิมรรค ถึง 40 วิธี3 ซึ่งวิธีทั้ง 40 นั้น ต่างก็มีเป้าหมายอันเดียวกัน คือ การทำใจให้ถูกส่วนและเข้าถึงพระธรรมกายภายใน ถ้าหากว่าเรานำใจของเรามาตั้งไว้ตรงที่ฐานที่ ๗ แล้วก็เริ่มต้นอย่างง่าย ๆ ด้วยวิธีการดังกล่าว จะเริ่มต้นจากกสิณ10 อสุภะ 10 อาหาเร ปฏิกูลสัญญา อนุสติ 10 หรืออะไรก็ตาม อย่างใดอย่างหนึ่ง ถ้าใจหยุดถูกส่วนตรงฐานที่ 7 นี้แล้ว ดำเนินจิตให้เข้าสู่ภายใน และดำเนินจิตเข้าไปตามลำดับ ไม่ช้าก็จะพบธรรมกาย ซึ่งสิ่งนี้มีอยู่แล้วในตัวของพวกเราทุกคน ไม่ใช่เป็นสิ่งใหม่ แต่เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วและสามารถเข้าถึงได้ทุกคนที่ปฏิบัติตามได้อย่าง ถูกวิธี
1 อัฏฐสาลินี อรรถกถาธรรมสังคณี เล่ม 76 หน้า 20 2 พระอภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณี จิตตุปปาทกัณฑ์ อกุศลธรรม เล่ม 76 หน้า 15 3 ได้แก่ กสิณ 10 อสุภะ 10 อนุสสติ 10 อาหาเร ปฏิกูลสัญญา 1 จตุธาตุววัฏฐาน 1 พรหมวิหาร 4 อรูปฌาน 4
สัมมาสมาธิกับมิจฉาสมาธิจำแนกตามฐานที่ตั้งของใจ
การฝึกสมาธิที่มีการฝึกหรือสอนกันโดยทั่วไปนั้น หากจะจำแนกประเภทตามหลักปฏิบัติของการวางจุดที่ตั้งมั่นของใจหรือฐานของใจนั้น เราสามารถจัดแบ่งเป็นได้ 2 ประเภท คือ การกำหนดตั้งฐานที่ตั้งของใจไว้ภายในกาย และภายนอกกาย ซึ่งการกำหนดใจไว้ภายในหรือมีฐานที่ตั้งของใจภายในกายนี้ สอดคล้องกับหลักของสัมมาสมาธิที่ที่จะต้องกำหนดใจให้ตั้งมั่นอยู่ภายใน ไม่ฟุ้งซ่าน หรือไม่ปล่อยใจไปเกาะเกี่ยวกับกามคุณทั้งหลาย ส่วนมิจฉาสมาธิ จะเป็นการกำหนดฐานที่ตั้งของใจไว้ภายนอก ปล่อยใจให้ซัดส่าย ฟุ้งซ่าน หรือมุ่งจรดจ่ออยู่กับกามคุณหรือสิ่งที่เป็นอกุศล เป็นต้น
สัมมาสมาธิ
เป็นสมาธิที่มีฐานที่ตั้งของใจอยู่ภายในกาย สามารถทำให้กิเลสต่างๆเบาบางลง หรือลดถอยไปจากใจของเราได้ และเป็นสมาธิที่ถูกทาง เพราะเพื่อจุดหมายในทางหลุดพ้น และเป็นไปเพื่อปัญญาที่รู้เข้าใจสิ่งทั้งหลายตามเป็นจริง มิใช่เพื่อผลในทางสนองความอยากของตัวตน เช่น จะอวดฤทธิ์ อวดความสามารถเป็นต้น สัมมาสมาธินี้พระภาวนาวิริยคุณอธิบายว่า1 เป็นสมาธิในพระพุทธศาสนา เกิดขึ้นจากการน้อมจิตเข้าไปตั้งอยู่ในกายของตนเอง อันจะทำให้ จิตจะสะอาด สงบ ว่องไวและมีความเห็นถูกซึ่งจะแตกต่างจากสมาธิของพวกที่มิใช่พระพุทธศาสนาหรือพวกฤๅษีชีไพร ที่เกิดจากการประคองรักษาจิตไว้ที่นิมิตนอกกาย แม้บางครั้งจะทำให้เกิดความสว่างได้บ้างแต่ยังมีความเห็นที่ผิดอยู่ เพราะไม่ใช่วิธีการที่จะทำให้พ้นทุกข์ได้
มิจฉาสมาธิ
คือสมาธิที่มีฐานที่ตั้งใจอยู่นอกกาย คือ การตั้งใจไว้ผิดที่ กล่าวคือเอาใจไปตั้งไว้ผิดตำแหน่ง กล่าวคือ มีการกำหนดใจจดจ่ออยู่กับสิ่งที่ทำเหมือนกัน แต่ว่าผิดที่ที่จะสามารถทำให้เกิดปัญญานำไปสู่ความพ้นทุกข์ได้ เป็นสมาธิที่นำมาซึ่งความร้อนใจ เช่น เวลามือปืนรับจ้างยิงคน หรือฆ่าคน เวลาเขายกปืนขึ้นมาเล็ง จะไปยิงเหยื่อที่จะสังเวยกระสุน เล็งปืนที่กลางหน้าผาก ตอนนั้นใจของเขาไม่ได้คิดวอกแวกไปเรื่องอื่นเลย ใจคิดอย่างเดียวว่าจะต้องให้เข้าตรงกลางหน้าผากของผู้ที่เป็นเป้าหมายให้ได้ ใจจรดจ่อกับสิ่งที่ทำเหมือนกัน แต่ว่าจดจ่อด้วยจิตที่ถูกกิเลสเข้าหุ้มใจ นำมาซึ่งความร้อนใจ ความทุกข์ใจ
แม้ดังเช่น คนเล่นไพ่ นั่งเล่นไพ่อยู่ ใจจรดจ่อกับไพ่ที่เล่นเช่นเดียวกัน บางทีเกิดความรู้สึกปวดปัสสาวะกลั้นได้ตั้ง 3 ชั่วโมง 4 ชั่วโมง บางทีไม่ต้องกินข้าว หรือบางทีนั่งเล่นตั้งแต่มืดจนสว่างก็ไม่มีอาการง่วง ไม่เมื่อย หรือลืมเมื่อย
หรือจะเป็น นักบิลเลียดกำลังแทงลูกบิลเลียด มือปืนกำลังจ้องยิงคู่อาฆาต คนทรงกำลังเชิญผีเข้า พวกเสพติดกำลังสูบกัญชา และพวกร้อนวิชากำลังปลุกเสก หรือพวกโจรกำลังมั่วสุมวางแผนก่อโจรกรรม ฯลฯ บุคคลเหล่านี้ต่างมีใจจดจ่ออยู่กับสิ่งที่เขากำลังทำทั้งสิ้นๆ ไม่ว่ารอบตัว บริเวณนั้นจะมีเหตุการณ์อย่างใดเกิดขึ้น ก็ยากที่จะทำให้เขาเหล่านั้นเบี่ยงเบนความสนใจได้ หลายคนจึงมีความเข้าใจผิดว่า บุคคลดังกล่าวเหล่านี้มีสมาธิมั่นคงดี แต่หาใช่เป็นสัมมาสมาธิไม่ เพราะสมาธิในพระพุทธศาสนาหมายถึงการที่สามารถทำใจให้ตั้งมั่น หนักแน่น ไม่วอกแวกและต้องก่อให้เกิดความสงบเย็นกายเย็นใจด้วย การกระทำให้ใจวอกแวก มีความโลภเพ่งเล็งอยากได้สิ่งที่ตนปรารถนาอย่างแน่วแน่และรุนแรง หรือมีใจตั้งมั่นในความพยาบาท กรณีเช่นนี้ในทางพระพุทธศาสนาถือว่าใจเป็นสมาธินอกลู่นอกทาง หรือที่เรียกว่ามิจฉาสมาธิ เพราะใจยังมีความหมกมุ่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งที่เป็นอกุศล มิจฉาสมาธินี้ จึงเป็นสิ่งที่ไม่ควรสนใจ และไม่ควรฝึกอย่างเด็ดขาดเพราะมีแต่โทษฝ่ายเดียว
1 พระเผด็จ ทตฺตชีโว, [2537] คนไทยต้องรู้, กรุงเทพฯ, หน้า 41.
คงไม่ใช่เรื่องธรรมดา หากว่ามีสถานที่แห่งหนึ่งซึ่งมีการเปิดให้มีการนั่งสมาธิ 7 วัน มีผู้คนสนใจมาสมัครจนเต็มหลายๆ รุ่นติดต่อกัน จนเป็นเรื่องธรรมดา ถ้าตัดสินใจช้า ปีหน้าจึงจะมีสิทธิ์ไป
คงไม่ใช่เรื่องธรรมดา หากว่า นักธุรกิจ เจ้าของกิจการ และผู้มีฐานะทางสังคม จะใช้เวลา 7 วันเพื่อมายังสถานที่แห่งนี้ แทนที่จะบินไปช้อปปิ้งต่างประเทศ หรือไปแสวงหาธรรมชาติที่สวยงาม หรือสู่สถานบันเทิงระดับโลก
และคงไม่ใช่เรื่องธรรมดา หากว่าผู้ที่ไปเยือนแล้ว ต้องกลับไปเยี่ยมอีก ครั้งแล้ว ครั้งเล่า...
หากคุณได้มายังสถานที่แห่งนี้ “สวนพนาวัฒน์” จังหวัดเชียงใหม่ คุณก็จะเดินทางไปถึงฝั่งแห่งความเข้าใจและประทับใจ เพราะสวนพนาวัฒน์ ไม่ใช่เฉพาะสถานที่ที่งดงามด้วยธรรมชาติท่ามกลางอากาศที่เย็นสบายเท่านั้น แต่ยังมีความเหมาะสมในการเป็นที่พักทางใจ ให้ “ใจ” ได้ “หยุด” ใน “บ้าน” คือ “วงกาย” อย่างสบาย แม้การหยุดใจจะไม่ใช่เรื่องง่ายนัก แต่ก็ไม่ไกลจนเอื้อมไม่ถึง
ด้วยเหตุนี้ สวนพนาวัฒน์จึงผลิบานเหนือสถานที่ใดๆ ที่เราได้เคยไปถึง และถ้าหากจะใช้พื้นที่ในหน้าเว็บไซต์พรรณนาถึงพนาวัฒน์ ก็คงไม่เท่ากับการเข้าร่วม เรียนรู้ อยู่กิน บนผืนดินแห่งการบรรลุธรรมแห่งนี้
สวนพนาวัฒน์ เปิดรับผู้สนใจในการฝึกสมาธิจากทั่วโลก มีการสอนธรรมปฏิบัติเป็นภาษาไทย โดยมีพระอาจารย์ผู้มีประสบการณ์ในการสอนสมาธิ และมีเจ้าหน้าที่ หรือพี่เลี้ยงคอยดูแลผู้มาปฏิบัติธรรม รวมเรียกกลุ่มคณะทำงานชุดนี้ว่า โครงการปฏิบัติธรรมพิเศษ หรือ ดอกไม้บาน ซึ่งเป็นหน่วยงานบุญที่ทำให้ผู้สนใจการปฏิบัติธรรมได้ค้นพบกับสันติสุขภายในมากว่า 12 ปี
ด้วยระยะเวลาที่เพียงพอต่อการเปลี่ยนแปลงภาวะจิตใจให้ก้าวไปสู่ความสงบ การบริหารจัดการที่ค่อนข้างลงตัว ทั้งในเรื่องการพักอาศัย อาหาร และการเดินทางไปกลับ ทำให้ผู้ที่มาปฏิบัติธรรมที่สวนพนาวัฒน์หลายๆ ท่าน สามารถรับรู้ด้วยตนเอง และตอบตนเองว่า ที่นี่คือ “สวรรค์บนดิน”
การฝึกสมาธิที่มีการฝึกหรือสอนกันโดยทั่วไปนั้น หากจะจำแนกประเภทตามหลักปฏิบัติของการวางจุดที่ตั้งมั่นของใจหรือฐานของใจนั้น เราสามารถจัดแบ่งเป็นได้ 2 ประเภท คือ การกำหนดตั้งฐานที่ตั้งของใจไว้ภายในกาย และภายนอกกาย ซึ่งการกำหนดใจไว้ภายในหรือมีฐานที่ตั้งของใจภายในกายนี้ สอดคล้องกับหลักของสัมมาสมาธิที่ที่จะต้องกำหนดใจให้ตั้งมั่นอยู่ภายใน ไม่ฟุ้งซ่าน หรือไม่ปล่อยใจไปเกาะเกี่ยวกับกามคุณทั้งหลาย ส่วนมิจฉาสมาธิ จะเป็นการกำหนดฐานที่ตั้งของใจไว้ภายนอก ปล่อยใจให้ซัดส่าย ฟุ้งซ่าน หรือมุ่งจรดจ่ออยู่กับกามคุณหรือสิ่งที่เป็นอกุศล เป็นต้น
สัมมาสมาธิ
เป็นสมาธิที่มีฐานที่ตั้งของใจอยู่ภายในกาย สามารถทำให้กิเลสต่างๆเบาบางลง หรือลดถอยไปจากใจของเราได้ และเป็นสมาธิที่ถูกทาง เพราะเพื่อจุดหมายในทางหลุดพ้น และเป็นไปเพื่อปัญญาที่รู้เข้าใจสิ่งทั้งหลายตามเป็นจริง มิใช่เพื่อผลในทางสนองความอยากของตัวตน เช่น จะอวดฤทธิ์ อวดความสามารถเป็นต้น สัมมาสมาธินี้พระภาวนาวิริยคุณอธิบายว่า1 เป็นสมาธิในพระพุทธศาสนา เกิดขึ้นจากการน้อมจิตเข้าไปตั้งอยู่ในกายของตนเอง อันจะทำให้ จิตจะสะอาด สงบ ว่องไวและมีความเห็นถูกซึ่งจะแตกต่างจากสมาธิของพวกที่มิใช่พระพุทธศาสนาหรือพวกฤๅษีชีไพร ที่เกิดจากการประคองรักษาจิตไว้ที่นิมิตนอกกาย แม้บางครั้งจะทำให้เกิดความสว่างได้บ้างแต่ยังมีความเห็นที่ผิดอยู่ เพราะไม่ใช่วิธีการที่จะทำให้พ้นทุกข์ได้
มิจฉาสมาธิ
คือสมาธิที่มีฐานที่ตั้งใจอยู่นอกกาย คือ การตั้งใจไว้ผิดที่ กล่าวคือเอาใจไปตั้งไว้ผิดตำแหน่ง กล่าวคือ มีการกำหนดใจจดจ่ออยู่กับสิ่งที่ทำเหมือนกัน แต่ว่าผิดที่ที่จะสามารถทำให้เกิดปัญญานำไปสู่ความพ้นทุกข์ได้ เป็นสมาธิที่นำมาซึ่งความร้อนใจ เช่น เวลามือปืนรับจ้างยิงคน หรือฆ่าคน เวลาเขายกปืนขึ้นมาเล็ง จะไปยิงเหยื่อที่จะสังเวยกระสุน เล็งปืนที่กลางหน้าผาก ตอนนั้นใจของเขาไม่ได้คิดวอกแวกไปเรื่องอื่นเลย ใจคิดอย่างเดียวว่าจะต้องให้เข้าตรงกลางหน้าผากของผู้ที่เป็นเป้าหมายให้ได้ ใจจรดจ่อกับสิ่งที่ทำเหมือนกัน แต่ว่าจดจ่อด้วยจิตที่ถูกกิเลสเข้าหุ้มใจ นำมาซึ่งความร้อนใจ ความทุกข์ใจ
แม้ดังเช่น คนเล่นไพ่ นั่งเล่นไพ่อยู่ ใจจรดจ่อกับไพ่ที่เล่นเช่นเดียวกัน บางทีเกิดความรู้สึกปวดปัสสาวะกลั้นได้ตั้ง 3 ชั่วโมง 4 ชั่วโมง บางทีไม่ต้องกินข้าว หรือบางทีนั่งเล่นตั้งแต่มืดจนสว่างก็ไม่มีอาการง่วง ไม่เมื่อย หรือลืมเมื่อย
หรือจะเป็น นักบิลเลียดกำลังแทงลูกบิลเลียด มือปืนกำลังจ้องยิงคู่อาฆาต คนทรงกำลังเชิญผีเข้า พวกเสพติดกำลังสูบกัญชา และพวกร้อนวิชากำลังปลุกเสก หรือพวกโจรกำลังมั่วสุมวางแผนก่อโจรกรรม ฯลฯ บุคคลเหล่านี้ต่างมีใจจดจ่ออยู่กับสิ่งที่เขากำลังทำทั้งสิ้นๆ ไม่ว่ารอบตัว บริเวณนั้นจะมีเหตุการณ์อย่างใดเกิดขึ้น ก็ยากที่จะทำให้เขาเหล่านั้นเบี่ยงเบนความสนใจได้ หลายคนจึงมีความเข้าใจผิดว่า บุคคลดังกล่าวเหล่านี้มีสมาธิมั่นคงดี แต่หาใช่เป็นสัมมาสมาธิไม่ เพราะสมาธิในพระพุทธศาสนาหมายถึงการที่สามารถทำใจให้ตั้งมั่น หนักแน่น ไม่วอกแวกและต้องก่อให้เกิดความสงบเย็นกายเย็นใจด้วย การกระทำให้ใจวอกแวก มีความโลภเพ่งเล็งอยากได้สิ่งที่ตนปรารถนาอย่างแน่วแน่และรุนแรง หรือมีใจตั้งมั่นในความพยาบาท กรณีเช่นนี้ในทางพระพุทธศาสนาถือว่าใจเป็นสมาธินอกลู่นอกทาง หรือที่เรียกว่ามิจฉาสมาธิ เพราะใจยังมีความหมกมุ่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งที่เป็นอกุศล มิจฉาสมาธินี้ จึงเป็นสิ่งที่ไม่ควรสนใจ และไม่ควรฝึกอย่างเด็ดขาดเพราะมีแต่โทษฝ่ายเดียว
1 พระเผด็จ ทตฺตชีโว, [2537] คนไทยต้องรู้, กรุงเทพฯ, หน้า 41.
คงไม่ใช่เรื่องธรรมดา หากว่ามีสถานที่แห่งหนึ่งซึ่งมีการเปิดให้มีการนั่งสมาธิ 7 วัน มีผู้คนสนใจมาสมัครจนเต็มหลายๆ รุ่นติดต่อกัน จนเป็นเรื่องธรรมดา ถ้าตัดสินใจช้า ปีหน้าจึงจะมีสิทธิ์ไป
คงไม่ใช่เรื่องธรรมดา หากว่า นักธุรกิจ เจ้าของกิจการ และผู้มีฐานะทางสังคม จะใช้เวลา 7 วันเพื่อมายังสถานที่แห่งนี้ แทนที่จะบินไปช้อปปิ้งต่างประเทศ หรือไปแสวงหาธรรมชาติที่สวยงาม หรือสู่สถานบันเทิงระดับโลก
และคงไม่ใช่เรื่องธรรมดา หากว่าผู้ที่ไปเยือนแล้ว ต้องกลับไปเยี่ยมอีก ครั้งแล้ว ครั้งเล่า...
หากคุณได้มายังสถานที่แห่งนี้ “สวนพนาวัฒน์” จังหวัดเชียงใหม่ คุณก็จะเดินทางไปถึงฝั่งแห่งความเข้าใจและประทับใจ เพราะสวนพนาวัฒน์ ไม่ใช่เฉพาะสถานที่ที่งดงามด้วยธรรมชาติท่ามกลางอากาศที่เย็นสบายเท่านั้น แต่ยังมีความเหมาะสมในการเป็นที่พักทางใจ ให้ “ใจ” ได้ “หยุด” ใน “บ้าน” คือ “วงกาย” อย่างสบาย แม้การหยุดใจจะไม่ใช่เรื่องง่ายนัก แต่ก็ไม่ไกลจนเอื้อมไม่ถึง
ด้วยเหตุนี้ สวนพนาวัฒน์จึงผลิบานเหนือสถานที่ใดๆ ที่เราได้เคยไปถึง และถ้าหากจะใช้พื้นที่ในหน้าเว็บไซต์พรรณนาถึงพนาวัฒน์ ก็คงไม่เท่ากับการเข้าร่วม เรียนรู้ อยู่กิน บนผืนดินแห่งการบรรลุธรรมแห่งนี้
สวนพนาวัฒน์ เปิดรับผู้สนใจในการฝึกสมาธิจากทั่วโลก มีการสอนธรรมปฏิบัติเป็นภาษาไทย โดยมีพระอาจารย์ผู้มีประสบการณ์ในการสอนสมาธิ และมีเจ้าหน้าที่ หรือพี่เลี้ยงคอยดูแลผู้มาปฏิบัติธรรม รวมเรียกกลุ่มคณะทำงานชุดนี้ว่า โครงการปฏิบัติธรรมพิเศษ หรือ ดอกไม้บาน ซึ่งเป็นหน่วยงานบุญที่ทำให้ผู้สนใจการปฏิบัติธรรมได้ค้นพบกับสันติสุขภายในมากว่า 12 ปี
ด้วยระยะเวลาที่เพียงพอต่อการเปลี่ยนแปลงภาวะจิตใจให้ก้าวไปสู่ความสงบ การบริหารจัดการที่ค่อนข้างลงตัว ทั้งในเรื่องการพักอาศัย อาหาร และการเดินทางไปกลับ ทำให้ผู้ที่มาปฏิบัติธรรมที่สวนพนาวัฒน์หลายๆ ท่าน สามารถรับรู้ด้วยตนเอง และตอบตนเองว่า ที่นี่คือ “สวรรค์บนดิน”
วันพฤหัสบดีที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2552
กระจกส่องใจ
กระจก... ไมไม่เลือกที่จะสะท้อนภาพทุกชนิด ฉันใด
จิตใจ... จงเอาเยี่ยงอย่างกระจก
กระจก... รับรู้ แต่ไม่ยึดถือครอบครอง
ดังนั้น... จึงไม่มีภาพใดๆหลงเหลือติดอยู่ในกระจก
สายฝน... ในกระจก หาได้เปียกกระจกไม่
เปลวไฟ... ในกระจก ก็หาได้เผาลนกระจกเช่นกัน
ทั้งนี้... เพราะกระจกไม่ได้ให้อำนาจแก่สายฝนและเปลวไฟ
ดังนั้น... จงทำจิตใจของท่านให้เป็นดุจการรับรู้ของกระจก เพราะ
ถ้าหากจิตของท่าน หลงยึดถือ หรือตกเป็นทาสของกิเลสเมื่อใด
ความทุกข์ ความเศร้าหมองใจย่อมตามมา ...เมื่อนั้น
อนุโมทนาบุญ ในการนำมาเผยแพร่
แก่เจ้าของบทความ พระอาจารย์มหาทัส คุณทัสสี
วัดสุทัศน์
ถ้าผิดพลาดบกพร่องประการใด กระผมขอขมา มา ณ โอกาสนี้ด้วย
กระจก... ไมไม่เลือกที่จะสะท้อนภาพทุกชนิด ฉันใด
จิตใจ... จงเอาเยี่ยงอย่างกระจก
กระจก... รับรู้ แต่ไม่ยึดถือครอบครอง
ดังนั้น... จึงไม่มีภาพใดๆหลงเหลือติดอยู่ในกระจก
สายฝน... ในกระจก หาได้เปียกกระจกไม่
เปลวไฟ... ในกระจก ก็หาได้เผาลนกระจกเช่นกัน
ทั้งนี้... เพราะกระจกไม่ได้ให้อำนาจแก่สายฝนและเปลวไฟ
ดังนั้น... จงทำจิตใจของท่านให้เป็นดุจการรับรู้ของกระจก เพราะ
ถ้าหากจิตของท่าน หลงยึดถือ หรือตกเป็นทาสของกิเลสเมื่อใด
ความทุกข์ ความเศร้าหมองใจย่อมตามมา ...เมื่อนั้น
อนุโมทนาบุญ ในการนำมาเผยแพร่
แก่เจ้าของบทความ พระอาจารย์มหาทัส คุณทัสสี
วัดสุทัศน์
ถ้าผิดพลาดบกพร่องประการใด กระผมขอขมา มา ณ โอกาสนี้ด้วย
วันอังคารที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2552
มงคลชีวิต
ถ้าท่านทำตัวแข่งกับสังคม ทางแห่งความล่มจมกำลังตามมา
ถ้าท่านทำงานเห็นแก่หน้า ท่านจะพบกับปัญหาเรื่อยไป
ถ้าท่านทำตัวเห็นแก่ได้ ท่านอย่าหวังน้ำใจจากเพื่อนฝูง
ถ้าท่านกลัวจนเกินไป ท่านจะทำอะไรไม่ได้ความ
ถ้าท่านกล้าจนเกินงาม ท่านจะพบกับความเดือดร้อน
ถ้าท่านขาดความพอดี ท่านจะเป็นหนี้เขาตลอดกาล
ถ้าท่านหวังแต่ความสนุก ท่านจะเป็นทุกข์มหาศาล
ถ้าท่านขาดความยั้งคิด ชีวิตทั้งชีวิตจะหมดความหมาย
ถ้าท่านทำใจให้สงบ ท่านจะพบความสุขที่เยือกเย็น
ถ้าท่านทำตัวแข่งกับสังคม ทางแห่งความล่มจมกำลังตามมา
ถ้าท่านทำงานเห็นแก่หน้า ท่านจะพบกับปัญหาเรื่อยไป
ถ้าท่านทำตัวเห็นแก่ได้ ท่านอย่าหวังน้ำใจจากเพื่อนฝูง
ถ้าท่านกลัวจนเกินไป ท่านจะทำอะไรไม่ได้ความ
ถ้าท่านกล้าจนเกินงาม ท่านจะพบกับความเดือดร้อน
ถ้าท่านขาดความพอดี ท่านจะเป็นหนี้เขาตลอดกาล
ถ้าท่านหวังแต่ความสนุก ท่านจะเป็นทุกข์มหาศาล
ถ้าท่านขาดความยั้งคิด ชีวิตทั้งชีวิตจะหมดความหมาย
ถ้าท่านทำใจให้สงบ ท่านจะพบความสุขที่เยือกเย็น
ช
คนในในโลกนี้อยู่เฉยๆเขาก็นินทา
คนในโลกนี้พูดมากเขาก็นินทา
คนในโลกนี้พูดน้อยเขาก็นินทา
ไม่มีใครในโลกที่ไม่ถูกนินทา
อย่าไปสนใจกับคำพูดที่ไม่มีสาระเหล่านั้น
ขอทำใจให้เหมือนแผ่นดิน เหมือนแผ่นน้ำ
ใครจะถ่มน้ำลาย ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ
หรือทิ้งขยะมูลฝอยสิ่งสกปรกใดๆลงไป
ทั้งแผ่นดินและแผ่นน้ำไม่เคยบ่นสักคำ
มีแต่รับสิ่งของทั้งหลายที่ใครๆนำมาทิ้งทับถม
อย่าไปยินดียินร้ายกับคำสรรเสริญหรือนินทา
เขาสรรเสริญก็ไม่ดีใจเขานินทาก็ไม่ขัดแย้ง
เป็นแต่คลื่นเสียงที่ผ่านมากระทบหูแล้วก็ผ่านไป
พระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร) พ.ศ. 2426 - 2511
พระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร) เกิดวันที่ 13 กรกฏาคม 2426 ที่บ้านญาติของมารดา ตำบลทวาย ใกล้กับถนนสาธร เดิมบิดาตั้งชื่อให้ว่า "ปิเตอร์ไฟท์" (Peter Feit) ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นไทยว่า ปิติ วาทะยะกร บิดาของท่านชื่อ จาค๊อบ ไฟท์ เป็นผู้มีความรู้ความสามารถด้านดนตรีได้เดินทางเข้ามาในประเทศไทยในฐานะนักท่องเที่ยว และได้รับราชการเป็นครูแตรวงในพระราชสำนักของ สมเด็จพระบัณฑูรย์กรมพระราชวังบวรมหาวิชัยชาญ ก่อมาได้เป็นครูแตรวง ทหารบกในรัชกาลที่ 5 ส่วนมารดาเป็นคนไทย เชื้อสายรามัญชื่อ ทองอยู่ เมื่ออายุ 7 ขวบ ท่านเริ่มรับการศึกษาวิชาสามัญที่โรงเรียนอัสสัมชัญ ในชั้นต้นได้เข้าเรียนในแผนกภาษาฝรั่งเศส จนจบหลักสูตร แล้วจึงได้เข้าเรียนต่อในแผนกวิชาภาษาอังกฤษ รวมเวลาที่อยู่ในโรงเรียนนี้ 11 ปี ระหว่างนี้ท่านก็ได้ศึกษาวิชาดนตรีจากบิดาพร้อมกับพี่ชายอีก 2 คน ซึ่งปัจจุบันได้ถึงแก่กรรมไปหมดแล้ว เมื่อพระเจนดุริยางค์อายุได้ 10 ขวบ ท่านได้ฝึกหัดเชลโล เป็นเครื่องดนตรีประจำตัวต่อไป จากการฝึกหัดอย่างจริงจัง ทำให้ท่านมีความสามารถในการเล่นดนตรีอย่างยอดเยี่ยม และก่อให้เกิดความรักอันซาบซึ้งในดนตรีแบบ คลาสสิค ขึ้นอย่างมาก พออายุ 17 ปี จึงได้หัดเรียนเปียโนโนอีกอย่างหนึ่ง พร้อมกันนี้ท่านก็ได้เริ่มแสวงหาความรู้ทาง "ดุริยางค์ศาสตร์" อย่างกว้างขวาง รวมทั้งเริ่มหัดเครื่องดนตรีชนิดอื่นอีกหลายอย่างเช่น คลาริเนท ฟรุต และทรอมโบน ในปี พ.ศ. 2444 ท่านได้เป็นครูสอนภาษาอังกฤษที่โรงเรียนอัสสัมชัญ จนถึง พ.ศ. 2445 เป็นครูอยู่ 2 ปีก็ลาออกจากนั้นก็สมัครเข้ารับราชการในกรมรถไฟหลวงแผนกเดินรถ ถึง พ.ศ. 2456 ท่านได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็น "ขุนเจนรถรัฐ" ท่านรับราชการอย่างสามารถอยู่ที่กรมรถไฟหลวงเป็นเวลา 14 ปี ด้วยความอัจฉริยะทางดนตรีอันเป็นที่รู้จักกันกว้างขวาง จากนั้นเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2460 รัชกาลที่ 6 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ย้ายไปรับราชการในกรมมหรสพ มีตำแหน่งเป็นผู้ช่วยปลัดกรมกองเครื่องสายฝรั่ง มีหน้าที่ฝึกฝนอบรมนักดนตรีทางการปฏิบัติเครื่องดนตรี สำหรับวงดนตรีฝรั่งหลวงแห่งราชสำนัก แล้วได้รับพระราชทานนามใหม่ว่า "หลวงเจนดุริยางค์" เมื่อได้รับการทาบทามให้ไปอยู่กรมมหรสพนั้นท่านลังเลใจอยู่ เนื่องจากรำลึกถึงคำกำชับของบิดาว่ามิให้ยึดถือและอาศัยวิชาดนตรีที่ท่านได้ให้ไว้นั้นเป็นอาชีพอย่างเด็ดขาด เพราะ
"คนไทยเราไม่ใคร่สนใจในการดนตรีเท่าใดนัก ชอบทำกันเล่น ๆ สนุก ๆ ไปชั่วคราว แล้วก็ทอดทิ้ง" แต่เนื่องจากเป็นพระบรมราชโองการจึงต้องไป ท่านได้ทุ่มเทเวลาความสามารถทุกสิ่งทุกอย่างที่มีอยู่ฝึกฝนนักดนตรีรุ่นใหม่ได้บังคับบัญชาอย่างกวดขัน ชั่วเวลาเพียง 2 - 3 ปีเท่านั้น วงดุริยางค์สากลวงแรกของไทยก็สามารถออกบรรเลงโชว์ฝีมือในงานพระราชพิธีต่าง ๆ จนได้รับคำชมเชยจากผู้ฟังทั้งชาวไทยและต่างประเทศมากมาย ถึงกับกล่าวกันว่า เป็นวงเก่งที่สุดในภาคตะวันออก จากความสามารถดังกล่าวนี้เองท่านก็ได้รับพระราชทานเลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น "พระเจนดุริยางค์" ตำแหน่งปลัดกรมกองดนตรีฝรั่งหลวง เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 24 ทำให้กิจการดนตรีสากลของไทยมีมาขึ้นทัดเทียมกับต่างประเทศ และจากความสามารถในการจัดสร้างวงดุริยางค์สากลได้สำเร็จเป็นอย่างดีขั้นต้น ในปี 2470 ท่านจึงได้ถูกขอร้องให้ไปช่วยเหลือปรับปรุงวงดนตรีของกองทัพเรือ ฃึ่งมีวงโยธวาทิต (แตรวง) และวงดุริยางค์ปี พ.ศ. 2473 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาดำรงราชานุภาพ นายกราชบัณฑิตสภา ได้ทรงเริ่มจัดการให้พระยาวรพงศ์พิพัฒน์ เสนากระทรวงวัง เจ้าสังกัดวงปี่พาทย์และโขนหลวง สั่งให้ครูดุริยางค์ดนตรีและผู้ชำนาญการจดโน้ตเพลงมาร่วมกันบรรเลง และบันทึกเป็นตัวโน้ตไว้ทั้งนี้กระทำกัน ณ วังวรดิศ สัปดาห์ละ 2 วัน จนถึง พ.ศ. 2475 ก็หยุดชงักไปชั่วคราว พระเจนดุริยางค์ก็มีส่วนร่วมในการบันทึกโน้ตคือ มีหน้าที่เป็นผู้ควบคุมการบันทึกโน้ต ซึ่งเป็นผลงานที่ท่านภาคภูมิในยิ่งอีกชิ้นหนึ่ง มาเมื่อปลายปี 2474 พระเจนฯได้พบปะกับเพื่อนายทหารเรือชั้นผู้ใหญ่ผู้หนึ่ง ซึ่งสนิทสนมกันมาก่อนคือ นาวาตรี หลวงวินิจเทศกลกิจ (กลาง โรจนเสนา) ซึ่งเป็นผู้ขอร้องให้พระเจนฯ แต่งเพลงให้บทหนึ่งให้มีทำนองเป็นเพลงที่มีความคล้ายคลึงกับเพลงชาติฝรั่งเศส ท่านก็ตอบว่าไม่จำเป็นต้องมีก็ได้ เพราะเพลงชาติที่มีชื่อ สรรเสริญพระบารมีของเราก็มีอยู่แล้ว นายทหารเรือผู้นั้นก็ตอบว่า อยากจะให้ไทยเรามีเพลงปลุกใจเพิ่มขึ้นอีกบ้าง เพราะเพลงสรรเสริญพระบารมีนั้นเป็นเพลงของพระเจ้าแผ่นดิน ส่วนเพลงของประชาชนนั้นไม่มี พระเจนก็ได้ตอบปฎิเสธไป เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปรากฎว่าเพื่อนคนนั้นได้ร่วมในคณะผู้ก่อการด้วย และขอร้องให้ท่านแต่งทำนองเพลงเพลงชาติให้ได้โดยบอกว่าเป็นความประสงค์ของผู้ก่อการท่านจึงยากที่จะปฏิเสธ และท่านได้ขอให้เวลาสำหรับแต่งเพลงสำคัญนี้ 7 วัน แต่พอจะครบกำหนดท่านก็ยังไม่สามารถแต่งได้จนกระทั่งถึงวันสุดท้าย ขณะที่ท่านกำลังนั่งรถรางสายบางขุนพรหมจะไปทำงานตามปกติ ท่านจึงเกิดนึกทำนองเพลงชาติขึ้นมาได้พอไปถึงที่ทำงานจึงลองเล่นเปียโนดูพร้อมกับจดโน้ตไว้ ปรากฏว่าสามารถใช้ได้ทันการพอดี ดังนั้นท่านจึงได้แต่งทำนองเพลงชาติขึ้นเป็นทำนองเพลงมารช์ใช้ได้คึกคักเร่งเร้าใจ ดังที่เราได้ยินได้ฟังกันอยู่อย่างทุกวันนี้ สำหรับเนื้อร้องของเพลงชาตินั้นเดิมเป็นของขุนวิจิตร มาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์) และนายฉันท์ ขำวิไล ต่อมาจึงเปลี่ยนเป็นของ พ.อ. หลวงสารานุประพันธ์ ทั้งร้องอยู่ในปัจจุบัน พ.ศ. 2477 กิจการของวงดนตรีสากลได้ย้ายไปสังกัดในกรมศิลปากร งบประมาณถูกตัดโดยทางราชการมีข้อเสนอให้เลือก 2 ประการคือ ให้ปลดนักดนตรีออกครึ่งหนึ่ง และให้ลดเงินเดือนของแต่ละคนออกครึ่งหนึ่ง ซึ่งพระเจนฯ ไม่สามารถจะเลือกปฏิบัติแต่อย่างใดได้เลย พอปี พ.ศ. 2479 กรมศิลปากรได้ส่งท่านไปดูงานดนตรีในต่างประเทศ เมื่อท่านกลับมาแล้วในพ.ศ. 2483 ได้ไปประจำอยู่กองทัพอากาศ
เพื่อจัดตั้งวงดนตรีของกองทัพอากาศขึ้น เพื่อบรรเลงเพลงประกอบภาพพจน์ด้วย พอถึง พ.ศ. 2487 กรมศิลปากรก็เรียกตัวท่านคืน กิจการดนตรีสากลของกรมศิลปากรเมื่อถูกตัดงบประมาณลงไปแล้ว ทำให้ทรุดโทรมเรื่อยมา นักดนตรีบางพวกก็แยกย้ายกระจัดกระจายกันไปอยู่ที่อื่น เช่นไปอยู่กับคณะละครของกรมศิลปากรไปอยู่กับวงดนตรีแจ๊สของกรมโฆษณากร (กรมประชาสัมพันธ์) ตัวคุณพระเองก็ถูกปลดจากตำแหน่งหัวหน้ากองดุริยางค์ศิลปากรไปรับตำแหน่งเป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดดนตรีสากล แต่พอโรงเรียนฝึกหัดครูดนตรีสากลล้มเลิกไป ท่านก็ได้ตำแหน่งให้เป็นศาสตราจารย์วิชาการดนตรีประจำมหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้น พ.ศ. 2490 ทางราชการได้มีคำสั่งให้พระเจนฯ ย้ายไปประจำกองการสังคีต กรมศิลปากร เพื่อหาทางแก้ไขปรับปรุงวงดุริยางค์สากลให้ได้มาตรฐานดีเช่นเดิม แต่ท่านก็ได้พบอุปสรรค์มากมาย จึงเสนอขออนุมัติจัดตั้งโรงเรียนสอนวิชาดนตรีขึ้น เพื่อผลิตนักดนตรีใหม่แต่ไม่เป็นผลท่านจึงได้ลาออกจากกรมศิลปากร เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2497 รวมเวลาที่ท่านได้รับราชการในกรมมหสพและกรมศิลปากรเป็นเวลา 37 ปี เต็ม หลังจากออกจากราชการแล้ว ท่านก็ยังคงทำงานในตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญแผนกดุริยางค์สากลของกรมศิลปากรอยู่อีกต่อไป ในบั้นปลายของชีวิตท่านถูกขอยืมตัวจากกรมศิลปากร ไปอยู๋ในกรมตำรวจ ท่านจัดตั้งวงดุริยางค์ตำรวจให้กับโรงเรียนพลตำรวจในภาคต่าง ๆ รวมทั้งโรงเรียนพลตำรวจนครบาล พร้อมกันนี้ท่านก็ได้รวบรวมตำราแบบเรียน แบบฝึกหัด สำหรับอบรมนักดนตรีในโยธวาทิตเพื่อทำหน้าที่เป็นครูฝึกนักดนตรีอีกด้วย ด้วยผลงานที่ท่านปฏิบัติมาก เป็นเหตุให้กรมตำรวจขอโอนท่านจากกรมศิลปากรมารับราชการในกรมตำรวจในตำแหน่งผู้อำนวยการฝึกสอนดนตรีและผู้เชี่ยวชาญวิชาดนตรี ประจำกองดุริยางค์ตำรวจ จนกระทั่งถึงแก่กรรมด้วยโรคชรา เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2511 พระเจนดุริยางค์ได้แต่งบทเพลงอันไพเราะไว้มากพร้อมทั้งแยกเสียงประสาน เพื่อใช้เล่นกับวงดุริยางค์สากลได้อีกด้วย บทเพลงเหล่านี้ได้แก่ เพลงประกอบภาพยนตร์เรื่องบ้านไร่นาเรา เรื่องพระเจ้าช้างเผือก และบทเพลงในมหาอุปรากรเรื่อง "มหาดารณี" เป็นต้นนอกจากนี้ท่านยังได้นำเพลงไทยเดิมแยกประสานเสียง สำหรับบรรเลงด้วยวงดุริยางค์สากลหลายเพลงเช่น เพลงเขมรไทรโยค แขกเชิญเจ้า ต้นบรเทศ สุธากันแสง มหาฤกษ์ มหาชัย เป็นต้น ท่านได้แต่งตำราวิชาการดนตรีสากลไว้หลายเล่ม ซึ่งล้วนมีคุณค่าสำหรับประเทศไทย เช่น การดนตรี หลักวิชาการดนตรี และการขับร้อง แบบเรียนวิชาการประสานเสียงเล่ม 1 และ เล่ม 2 แบบเรียนดุริยางค์สากล ท่านได้อบรมลูกศิษย์ให้มีความรู้ ความสามารถในเรื่องดนตรีสากลเป็นจำนวนมากมายหลายคนกำลังเป็นนักดนตรี นักแต่งเพลงหรือหัวหน้าวงที่มีชื่อเช่น เอื้อ สุนทรสนาน ,สง่า อารัมภีร์, ชลหมู่ ชลานุเคราะห์, สุรพล แสงเอก และเรืออากาศโท ประกิจ วาทะยากร (บุตรของท่านเอง)มรณกรรมของคุณพระเจนดุริยางค์ ปรมาจารย์ทางดนตรีสากล เจ้าของทำนองเพลงชาติไทย อันเร้าใจและอมตะ และเป็นผู้วางรากฐานทางดนตรีสากลในเมืองไทยให้เป็นหลัก นับเป็นการสูญเสียงครั้งยิ่งใหญ่ในการดนตรีไทย แม้ว่าตัวของท่านจะจากไป แต่ผลงานอันเป็นอมตะของท่านก็ยังคงอยู่ในความทรงจำของพวกเราชาวไทยตลอดไป
พระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร) เกิดวันที่ 13 กรกฏาคม 2426 ที่บ้านญาติของมารดา ตำบลทวาย ใกล้กับถนนสาธร เดิมบิดาตั้งชื่อให้ว่า "ปิเตอร์ไฟท์" (Peter Feit) ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นไทยว่า ปิติ วาทะยะกร บิดาของท่านชื่อ จาค๊อบ ไฟท์ เป็นผู้มีความรู้ความสามารถด้านดนตรีได้เดินทางเข้ามาในประเทศไทยในฐานะนักท่องเที่ยว และได้รับราชการเป็นครูแตรวงในพระราชสำนักของ สมเด็จพระบัณฑูรย์กรมพระราชวังบวรมหาวิชัยชาญ ก่อมาได้เป็นครูแตรวง ทหารบกในรัชกาลที่ 5 ส่วนมารดาเป็นคนไทย เชื้อสายรามัญชื่อ ทองอยู่ เมื่ออายุ 7 ขวบ ท่านเริ่มรับการศึกษาวิชาสามัญที่โรงเรียนอัสสัมชัญ ในชั้นต้นได้เข้าเรียนในแผนกภาษาฝรั่งเศส จนจบหลักสูตร แล้วจึงได้เข้าเรียนต่อในแผนกวิชาภาษาอังกฤษ รวมเวลาที่อยู่ในโรงเรียนนี้ 11 ปี ระหว่างนี้ท่านก็ได้ศึกษาวิชาดนตรีจากบิดาพร้อมกับพี่ชายอีก 2 คน ซึ่งปัจจุบันได้ถึงแก่กรรมไปหมดแล้ว เมื่อพระเจนดุริยางค์อายุได้ 10 ขวบ ท่านได้ฝึกหัดเชลโล เป็นเครื่องดนตรีประจำตัวต่อไป จากการฝึกหัดอย่างจริงจัง ทำให้ท่านมีความสามารถในการเล่นดนตรีอย่างยอดเยี่ยม และก่อให้เกิดความรักอันซาบซึ้งในดนตรีแบบ คลาสสิค ขึ้นอย่างมาก พออายุ 17 ปี จึงได้หัดเรียนเปียโนโนอีกอย่างหนึ่ง พร้อมกันนี้ท่านก็ได้เริ่มแสวงหาความรู้ทาง "ดุริยางค์ศาสตร์" อย่างกว้างขวาง รวมทั้งเริ่มหัดเครื่องดนตรีชนิดอื่นอีกหลายอย่างเช่น คลาริเนท ฟรุต และทรอมโบน ในปี พ.ศ. 2444 ท่านได้เป็นครูสอนภาษาอังกฤษที่โรงเรียนอัสสัมชัญ จนถึง พ.ศ. 2445 เป็นครูอยู่ 2 ปีก็ลาออกจากนั้นก็สมัครเข้ารับราชการในกรมรถไฟหลวงแผนกเดินรถ ถึง พ.ศ. 2456 ท่านได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็น "ขุนเจนรถรัฐ" ท่านรับราชการอย่างสามารถอยู่ที่กรมรถไฟหลวงเป็นเวลา 14 ปี ด้วยความอัจฉริยะทางดนตรีอันเป็นที่รู้จักกันกว้างขวาง จากนั้นเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2460 รัชกาลที่ 6 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ย้ายไปรับราชการในกรมมหรสพ มีตำแหน่งเป็นผู้ช่วยปลัดกรมกองเครื่องสายฝรั่ง มีหน้าที่ฝึกฝนอบรมนักดนตรีทางการปฏิบัติเครื่องดนตรี สำหรับวงดนตรีฝรั่งหลวงแห่งราชสำนัก แล้วได้รับพระราชทานนามใหม่ว่า "หลวงเจนดุริยางค์" เมื่อได้รับการทาบทามให้ไปอยู่กรมมหรสพนั้นท่านลังเลใจอยู่ เนื่องจากรำลึกถึงคำกำชับของบิดาว่ามิให้ยึดถือและอาศัยวิชาดนตรีที่ท่านได้ให้ไว้นั้นเป็นอาชีพอย่างเด็ดขาด เพราะ
"คนไทยเราไม่ใคร่สนใจในการดนตรีเท่าใดนัก ชอบทำกันเล่น ๆ สนุก ๆ ไปชั่วคราว แล้วก็ทอดทิ้ง" แต่เนื่องจากเป็นพระบรมราชโองการจึงต้องไป ท่านได้ทุ่มเทเวลาความสามารถทุกสิ่งทุกอย่างที่มีอยู่ฝึกฝนนักดนตรีรุ่นใหม่ได้บังคับบัญชาอย่างกวดขัน ชั่วเวลาเพียง 2 - 3 ปีเท่านั้น วงดุริยางค์สากลวงแรกของไทยก็สามารถออกบรรเลงโชว์ฝีมือในงานพระราชพิธีต่าง ๆ จนได้รับคำชมเชยจากผู้ฟังทั้งชาวไทยและต่างประเทศมากมาย ถึงกับกล่าวกันว่า เป็นวงเก่งที่สุดในภาคตะวันออก จากความสามารถดังกล่าวนี้เองท่านก็ได้รับพระราชทานเลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น "พระเจนดุริยางค์" ตำแหน่งปลัดกรมกองดนตรีฝรั่งหลวง เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 24 ทำให้กิจการดนตรีสากลของไทยมีมาขึ้นทัดเทียมกับต่างประเทศ และจากความสามารถในการจัดสร้างวงดุริยางค์สากลได้สำเร็จเป็นอย่างดีขั้นต้น ในปี 2470 ท่านจึงได้ถูกขอร้องให้ไปช่วยเหลือปรับปรุงวงดนตรีของกองทัพเรือ ฃึ่งมีวงโยธวาทิต (แตรวง) และวงดุริยางค์ปี พ.ศ. 2473 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาดำรงราชานุภาพ นายกราชบัณฑิตสภา ได้ทรงเริ่มจัดการให้พระยาวรพงศ์พิพัฒน์ เสนากระทรวงวัง เจ้าสังกัดวงปี่พาทย์และโขนหลวง สั่งให้ครูดุริยางค์ดนตรีและผู้ชำนาญการจดโน้ตเพลงมาร่วมกันบรรเลง และบันทึกเป็นตัวโน้ตไว้ทั้งนี้กระทำกัน ณ วังวรดิศ สัปดาห์ละ 2 วัน จนถึง พ.ศ. 2475 ก็หยุดชงักไปชั่วคราว พระเจนดุริยางค์ก็มีส่วนร่วมในการบันทึกโน้ตคือ มีหน้าที่เป็นผู้ควบคุมการบันทึกโน้ต ซึ่งเป็นผลงานที่ท่านภาคภูมิในยิ่งอีกชิ้นหนึ่ง มาเมื่อปลายปี 2474 พระเจนฯได้พบปะกับเพื่อนายทหารเรือชั้นผู้ใหญ่ผู้หนึ่ง ซึ่งสนิทสนมกันมาก่อนคือ นาวาตรี หลวงวินิจเทศกลกิจ (กลาง โรจนเสนา) ซึ่งเป็นผู้ขอร้องให้พระเจนฯ แต่งเพลงให้บทหนึ่งให้มีทำนองเป็นเพลงที่มีความคล้ายคลึงกับเพลงชาติฝรั่งเศส ท่านก็ตอบว่าไม่จำเป็นต้องมีก็ได้ เพราะเพลงชาติที่มีชื่อ สรรเสริญพระบารมีของเราก็มีอยู่แล้ว นายทหารเรือผู้นั้นก็ตอบว่า อยากจะให้ไทยเรามีเพลงปลุกใจเพิ่มขึ้นอีกบ้าง เพราะเพลงสรรเสริญพระบารมีนั้นเป็นเพลงของพระเจ้าแผ่นดิน ส่วนเพลงของประชาชนนั้นไม่มี พระเจนก็ได้ตอบปฎิเสธไป เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปรากฎว่าเพื่อนคนนั้นได้ร่วมในคณะผู้ก่อการด้วย และขอร้องให้ท่านแต่งทำนองเพลงเพลงชาติให้ได้โดยบอกว่าเป็นความประสงค์ของผู้ก่อการท่านจึงยากที่จะปฏิเสธ และท่านได้ขอให้เวลาสำหรับแต่งเพลงสำคัญนี้ 7 วัน แต่พอจะครบกำหนดท่านก็ยังไม่สามารถแต่งได้จนกระทั่งถึงวันสุดท้าย ขณะที่ท่านกำลังนั่งรถรางสายบางขุนพรหมจะไปทำงานตามปกติ ท่านจึงเกิดนึกทำนองเพลงชาติขึ้นมาได้พอไปถึงที่ทำงานจึงลองเล่นเปียโนดูพร้อมกับจดโน้ตไว้ ปรากฏว่าสามารถใช้ได้ทันการพอดี ดังนั้นท่านจึงได้แต่งทำนองเพลงชาติขึ้นเป็นทำนองเพลงมารช์ใช้ได้คึกคักเร่งเร้าใจ ดังที่เราได้ยินได้ฟังกันอยู่อย่างทุกวันนี้ สำหรับเนื้อร้องของเพลงชาตินั้นเดิมเป็นของขุนวิจิตร มาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์) และนายฉันท์ ขำวิไล ต่อมาจึงเปลี่ยนเป็นของ พ.อ. หลวงสารานุประพันธ์ ทั้งร้องอยู่ในปัจจุบัน พ.ศ. 2477 กิจการของวงดนตรีสากลได้ย้ายไปสังกัดในกรมศิลปากร งบประมาณถูกตัดโดยทางราชการมีข้อเสนอให้เลือก 2 ประการคือ ให้ปลดนักดนตรีออกครึ่งหนึ่ง และให้ลดเงินเดือนของแต่ละคนออกครึ่งหนึ่ง ซึ่งพระเจนฯ ไม่สามารถจะเลือกปฏิบัติแต่อย่างใดได้เลย พอปี พ.ศ. 2479 กรมศิลปากรได้ส่งท่านไปดูงานดนตรีในต่างประเทศ เมื่อท่านกลับมาแล้วในพ.ศ. 2483 ได้ไปประจำอยู่กองทัพอากาศ
เพื่อจัดตั้งวงดนตรีของกองทัพอากาศขึ้น เพื่อบรรเลงเพลงประกอบภาพพจน์ด้วย พอถึง พ.ศ. 2487 กรมศิลปากรก็เรียกตัวท่านคืน กิจการดนตรีสากลของกรมศิลปากรเมื่อถูกตัดงบประมาณลงไปแล้ว ทำให้ทรุดโทรมเรื่อยมา นักดนตรีบางพวกก็แยกย้ายกระจัดกระจายกันไปอยู่ที่อื่น เช่นไปอยู่กับคณะละครของกรมศิลปากรไปอยู่กับวงดนตรีแจ๊สของกรมโฆษณากร (กรมประชาสัมพันธ์) ตัวคุณพระเองก็ถูกปลดจากตำแหน่งหัวหน้ากองดุริยางค์ศิลปากรไปรับตำแหน่งเป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดดนตรีสากล แต่พอโรงเรียนฝึกหัดครูดนตรีสากลล้มเลิกไป ท่านก็ได้ตำแหน่งให้เป็นศาสตราจารย์วิชาการดนตรีประจำมหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้น พ.ศ. 2490 ทางราชการได้มีคำสั่งให้พระเจนฯ ย้ายไปประจำกองการสังคีต กรมศิลปากร เพื่อหาทางแก้ไขปรับปรุงวงดุริยางค์สากลให้ได้มาตรฐานดีเช่นเดิม แต่ท่านก็ได้พบอุปสรรค์มากมาย จึงเสนอขออนุมัติจัดตั้งโรงเรียนสอนวิชาดนตรีขึ้น เพื่อผลิตนักดนตรีใหม่แต่ไม่เป็นผลท่านจึงได้ลาออกจากกรมศิลปากร เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2497 รวมเวลาที่ท่านได้รับราชการในกรมมหสพและกรมศิลปากรเป็นเวลา 37 ปี เต็ม หลังจากออกจากราชการแล้ว ท่านก็ยังคงทำงานในตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญแผนกดุริยางค์สากลของกรมศิลปากรอยู่อีกต่อไป ในบั้นปลายของชีวิตท่านถูกขอยืมตัวจากกรมศิลปากร ไปอยู๋ในกรมตำรวจ ท่านจัดตั้งวงดุริยางค์ตำรวจให้กับโรงเรียนพลตำรวจในภาคต่าง ๆ รวมทั้งโรงเรียนพลตำรวจนครบาล พร้อมกันนี้ท่านก็ได้รวบรวมตำราแบบเรียน แบบฝึกหัด สำหรับอบรมนักดนตรีในโยธวาทิตเพื่อทำหน้าที่เป็นครูฝึกนักดนตรีอีกด้วย ด้วยผลงานที่ท่านปฏิบัติมาก เป็นเหตุให้กรมตำรวจขอโอนท่านจากกรมศิลปากรมารับราชการในกรมตำรวจในตำแหน่งผู้อำนวยการฝึกสอนดนตรีและผู้เชี่ยวชาญวิชาดนตรี ประจำกองดุริยางค์ตำรวจ จนกระทั่งถึงแก่กรรมด้วยโรคชรา เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2511 พระเจนดุริยางค์ได้แต่งบทเพลงอันไพเราะไว้มากพร้อมทั้งแยกเสียงประสาน เพื่อใช้เล่นกับวงดุริยางค์สากลได้อีกด้วย บทเพลงเหล่านี้ได้แก่ เพลงประกอบภาพยนตร์เรื่องบ้านไร่นาเรา เรื่องพระเจ้าช้างเผือก และบทเพลงในมหาอุปรากรเรื่อง "มหาดารณี" เป็นต้นนอกจากนี้ท่านยังได้นำเพลงไทยเดิมแยกประสานเสียง สำหรับบรรเลงด้วยวงดุริยางค์สากลหลายเพลงเช่น เพลงเขมรไทรโยค แขกเชิญเจ้า ต้นบรเทศ สุธากันแสง มหาฤกษ์ มหาชัย เป็นต้น ท่านได้แต่งตำราวิชาการดนตรีสากลไว้หลายเล่ม ซึ่งล้วนมีคุณค่าสำหรับประเทศไทย เช่น การดนตรี หลักวิชาการดนตรี และการขับร้อง แบบเรียนวิชาการประสานเสียงเล่ม 1 และ เล่ม 2 แบบเรียนดุริยางค์สากล ท่านได้อบรมลูกศิษย์ให้มีความรู้ ความสามารถในเรื่องดนตรีสากลเป็นจำนวนมากมายหลายคนกำลังเป็นนักดนตรี นักแต่งเพลงหรือหัวหน้าวงที่มีชื่อเช่น เอื้อ สุนทรสนาน ,สง่า อารัมภีร์, ชลหมู่ ชลานุเคราะห์, สุรพล แสงเอก และเรืออากาศโท ประกิจ วาทะยากร (บุตรของท่านเอง)มรณกรรมของคุณพระเจนดุริยางค์ ปรมาจารย์ทางดนตรีสากล เจ้าของทำนองเพลงชาติไทย อันเร้าใจและอมตะ และเป็นผู้วางรากฐานทางดนตรีสากลในเมืองไทยให้เป็นหลัก นับเป็นการสูญเสียงครั้งยิ่งใหญ่ในการดนตรีไทย แม้ว่าตัวของท่านจะจากไป แต่ผลงานอันเป็นอมตะของท่านก็ยังคงอยู่ในความทรงจำของพวกเราชาวไทยตลอดไป
สตริงหรือสตริงคอมโบ้ ( String Combo ) เป็นวงดนตรีประเภทเครื่องสายอย่างตะวันตกมีขนาดเล็กเกิดใหม่จากการดัดแปลงวงคอมโบ้รวมมิตรกับวงชาโดว์
วงคอมโบ้ (Combo Band) หมายถึงวงดนตรีขนาดเล็กมุ่งประกอบการขับร้อง มีจำนวนเครื่องดนตรีไม่แน่นอนแล้วแต่ความสะดวกแต่หลักๆมักประกอบด้วย ทรัมเป็ต เทเนอร์แซกโซโฟน อัลโตแซกโซโฟน ทอมโบน เปียโน กีตาร์คอร์ด กีตาร์เบส กลองชุด เครื่องดนตรีประกอบจังหวะอื่นๆได้แก่ กลองทอมบ้า ฉิง ฉาบ เป็นต้น ปัจจุบันนำหางเครื่องหรือปัจจุบันเรียกแดนเซอร์ มาเต้นประกอบเพื่อให้เกิดความสวยงามยิ่งขี้น มีการส่งเสริมจัดการประกวดวงคอมโบ้หลายเวที เช่น รายการชิงช้าสวรรค์ ช่อง 9 อ.ส.ม.ท เวทียามาฮ่าลูกทุ่งคอนเทสก์ เวทีลูกทุ่ง ปปส.เป็นตัน
วงชาโดว์ (Shawdo Band) เป็นวงดนตรีขนาดเล็กๆเคลื่อยย้ายสะดวก ประกอบด้วยเครื่องดนตรี กีตาร์ลีด กีตาร์คอร์ด กี่ตาร์เบส กลองชุด แบ่งวิวัฒนาการออกเป็น 2 สมัย 1.ได้แก่ วงชาโดว์แนวบูล คันทรี โฟลก์ 2.วงชาโดว์แนวร๊อคเป็นต้นฉบับให้กับร๊อครุ่นหลังถึงปัจจุบัน บรรพบุรุษร๊อคนี้เรียกว่า คลาสสิคร๊อค มาถึงกำเนิดสตริงสัญชาติไทย (พ.ศ. 2503-2515)
วงการดนตรีไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นลำดับเนื่องจากอิทธิพลของดนตรีตะวันตกที่หลั่งไหลเข้ามาโดนใจวัยโจ๋ในสมัยนั้นไม่ขาดสายได้แก่วง เดอะบิทเทิล เดอะชาโดของคลิฟ ริชารด์ เอลวิส เพรสลีย ฯลฯ แทบทุกวงดนตรีมากับกีตาร์ 3 ตัว กลองชุด พร้อมๆกันนั้นวงดนตรีของไทยก็เริ่มหันมาเล่นเพลงสากลได้รับความนิยมไม่น้อยเหมือนกัน
เมื่ออเมริกามาตั้งฐานทัพในประเทศไทยสมัยสงครามเวียตนาม เพลงสากลได้รับความนิยมไม่น้อยเหมือนกัน วงดนตรีของไทยที่เล่นเพลงสากลในสมัยนั้นเช่น วงซิลเวอแชน วงรอแยลสไปรท์ ฯลฯ ร้องและเล่นตามต้นแบบเป็นส่วนใหญ่
พ.ศ. 2512 ได้จัดการประกวดวงสตริงคอมโบ้แห่งประเทศไทยขึ้นมีกติกาการแข่งขันว่า เล่นเพลงสากล 1 เพลง เพลงไทยสากล 1 เพลง เพลงพระราชนิพนธ์ 1 เพลง วงที่ชนะเลิศคือ วงจอยท์ รีแอ๊กชั่น ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น วงดิอิมพอสสิเบิลแปลว่าวงเป็นไปไม่ได้ ดิอิมพอสสิเบิลโด่งดังเหลือหลาย นักดนตรีประกอบด้วย เศรษฐา ศิระฉายา วินัย พันธุรักษ์ อนุสรณ์ พัฒนกุล สิทธิพร อมรพันธ์ และพิชัย คงเนียม ครองรางวัลชนะเลิศ 3 ปีซ้อน
ประวัติศาสตร์วงการดนตรีไทยต้องบันทึกไว้ในฐานะวงดนตรีประเภทสตริงคอมโบ้วงแรกที่สร้างความรู้สึกเป็นสากลและเป็นวงแรกอีกเช่นกันเปิดทางให้วัยรุ่นฟังเพลงไทยแนวใหม่ ความสำเร็จขั้นสูงสุดทำให้ผู้สร้างภาพยนตร์ตลอดจนผู้ประพันธ์เพลงให้ความสนใจกับวงดนตรีประเภทนี้มากขึ้น เวลาเดียวกันวงดนตรีวงอื่นๆ ได้รับความนิยมตามมาเช่น วงพี่เอ็มไฟร์ (P.M.5) วงแฟนตาซี วงแกรนด์เอ็กซ์ วงชาตรี ฯลฯ
จากนั้นเข้าสู่ยุดแฟนฉัน (วงชาตรี) ครีกครืนรื่นเริงเรื่อยมาถึงทุกวันนี้
วงคอมโบ้ (Combo Band) หมายถึงวงดนตรีขนาดเล็กมุ่งประกอบการขับร้อง มีจำนวนเครื่องดนตรีไม่แน่นอนแล้วแต่ความสะดวกแต่หลักๆมักประกอบด้วย ทรัมเป็ต เทเนอร์แซกโซโฟน อัลโตแซกโซโฟน ทอมโบน เปียโน กีตาร์คอร์ด กีตาร์เบส กลองชุด เครื่องดนตรีประกอบจังหวะอื่นๆได้แก่ กลองทอมบ้า ฉิง ฉาบ เป็นต้น ปัจจุบันนำหางเครื่องหรือปัจจุบันเรียกแดนเซอร์ มาเต้นประกอบเพื่อให้เกิดความสวยงามยิ่งขี้น มีการส่งเสริมจัดการประกวดวงคอมโบ้หลายเวที เช่น รายการชิงช้าสวรรค์ ช่อง 9 อ.ส.ม.ท เวทียามาฮ่าลูกทุ่งคอนเทสก์ เวทีลูกทุ่ง ปปส.เป็นตัน
วงชาโดว์ (Shawdo Band) เป็นวงดนตรีขนาดเล็กๆเคลื่อยย้ายสะดวก ประกอบด้วยเครื่องดนตรี กีตาร์ลีด กีตาร์คอร์ด กี่ตาร์เบส กลองชุด แบ่งวิวัฒนาการออกเป็น 2 สมัย 1.ได้แก่ วงชาโดว์แนวบูล คันทรี โฟลก์ 2.วงชาโดว์แนวร๊อคเป็นต้นฉบับให้กับร๊อครุ่นหลังถึงปัจจุบัน บรรพบุรุษร๊อคนี้เรียกว่า คลาสสิคร๊อค มาถึงกำเนิดสตริงสัญชาติไทย (พ.ศ. 2503-2515)
วงการดนตรีไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นลำดับเนื่องจากอิทธิพลของดนตรีตะวันตกที่หลั่งไหลเข้ามาโดนใจวัยโจ๋ในสมัยนั้นไม่ขาดสายได้แก่วง เดอะบิทเทิล เดอะชาโดของคลิฟ ริชารด์ เอลวิส เพรสลีย ฯลฯ แทบทุกวงดนตรีมากับกีตาร์ 3 ตัว กลองชุด พร้อมๆกันนั้นวงดนตรีของไทยก็เริ่มหันมาเล่นเพลงสากลได้รับความนิยมไม่น้อยเหมือนกัน
เมื่ออเมริกามาตั้งฐานทัพในประเทศไทยสมัยสงครามเวียตนาม เพลงสากลได้รับความนิยมไม่น้อยเหมือนกัน วงดนตรีของไทยที่เล่นเพลงสากลในสมัยนั้นเช่น วงซิลเวอแชน วงรอแยลสไปรท์ ฯลฯ ร้องและเล่นตามต้นแบบเป็นส่วนใหญ่
พ.ศ. 2512 ได้จัดการประกวดวงสตริงคอมโบ้แห่งประเทศไทยขึ้นมีกติกาการแข่งขันว่า เล่นเพลงสากล 1 เพลง เพลงไทยสากล 1 เพลง เพลงพระราชนิพนธ์ 1 เพลง วงที่ชนะเลิศคือ วงจอยท์ รีแอ๊กชั่น ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น วงดิอิมพอสสิเบิลแปลว่าวงเป็นไปไม่ได้ ดิอิมพอสสิเบิลโด่งดังเหลือหลาย นักดนตรีประกอบด้วย เศรษฐา ศิระฉายา วินัย พันธุรักษ์ อนุสรณ์ พัฒนกุล สิทธิพร อมรพันธ์ และพิชัย คงเนียม ครองรางวัลชนะเลิศ 3 ปีซ้อน
ประวัติศาสตร์วงการดนตรีไทยต้องบันทึกไว้ในฐานะวงดนตรีประเภทสตริงคอมโบ้วงแรกที่สร้างความรู้สึกเป็นสากลและเป็นวงแรกอีกเช่นกันเปิดทางให้วัยรุ่นฟังเพลงไทยแนวใหม่ ความสำเร็จขั้นสูงสุดทำให้ผู้สร้างภาพยนตร์ตลอดจนผู้ประพันธ์เพลงให้ความสนใจกับวงดนตรีประเภทนี้มากขึ้น เวลาเดียวกันวงดนตรีวงอื่นๆ ได้รับความนิยมตามมาเช่น วงพี่เอ็มไฟร์ (P.M.5) วงแฟนตาซี วงแกรนด์เอ็กซ์ วงชาตรี ฯลฯ
จากนั้นเข้าสู่ยุดแฟนฉัน (วงชาตรี) ครีกครืนรื่นเริงเรื่อยมาถึงทุกวันนี้
โมสาร์ตคีตกวีดังระดับโลก "โวล์ฟกัง อมาเดอุส โมสาร์ต-Wolfgang Amadeus Mozart" คีตกวีคนสำคัญของโลก เกิด 27 มกราคม ค.ศ. 1759 ที่เมืองซาลซ์บูร์ก ออสเตรีย เป็นลูกไม้ใต้ต้นของเลโอโปลด์ โมสาร์ต นักแต่งเพลง นักดนตรีฝีมือไวโอลินเป็นเยี่ยม เป็นหัวหน้าวงดนตรีประจำสำนักอาร์คบิชอปซาลซ์บูร์ก แม่ชื่ออันนา โมซาร์ตความสามารถด้านดนตรีของโมสาร์ตฉายแววเมื่ออายุเพียง 5 ขวบ เขานำเพลง minuet ที่พ่อแต่งค้างไว้มาจัดการต่อเรียบร้อย ไพเราะยิ่ง ในวันเกิด 6 ขวบ ก็ได้รับไวโอลินเล็กๆ เป็นของขวัญ และขึ้นเวทีแสดงไวโอลินร่วมวงกับพ่อ ซึ่งทนความรบเร้าของลูกชายไม่ไหว นับจากนั้นเส้นทางการศึกษาไวโอลินก็ดำเนินไปอย่างจริงจัง พ่อฝึกซ้อมควบคู่กับสอนพี่สาวโมสาร์ตยังสามารถเล่นออร์แกน คลาเวียร์ เขาเดินทางแสดงดนตรีในหลายมุมทั่วยุโรป ประสบความสำเร็จ ชื่อเสียงรุ่งโรจน์ตั้งแต่เยาว์วัย ได้รับความยกย่องนับถือจากวงสังคมทุกแห่งตั้งแต่ประชาชนเดินถนนจนถึงราชสำนักออสเตรีย เยอรมัน ฝรั่งเศส และอังกฤษ การเดินทางของเขาและพี่สาว นอกจากแสดงดนตรี พ่อยังต้องการให้ลูกๆ ได้ท่องเที่ยวโลกกว้างด้วยชีวิตเริ่มเปลี่ยนแปลงเมื่ออาร์คบิชอปแห่งซาลซ์บูร์กผู้สนับสนุนเงินในการตระเวนแสดงดนตรีของครอบครัว เสียชีวิตลง อาร์คบิชอปคนใหม่ระงับการเดินทาง พ่อจึงตัดรายจ่ายของตัวเองให้โมซาร์ตกับพี่สาวเดินทางตามลำพัง แต่ชื่อเสียงเขาเริ่มจาง เพราะโตเป็นชายหนุ่ม ไม่ใช่เด็กชายน้อยรูปสง่าใบหน้าสวยหวานช่างฝันที่ฝีมือเกินตัวจนผู้คนทึ่งเสียแล้วเขาแต่งงานพร้อมกับที่ชีวิตย่ำแย่ลงเรื่อยๆ แต่เพลงที่เขียนกลับวิจิตรบรรจง ผลงานโมซาร์ตมีกว่า 200 ชิ้น ทั้งสตริง ควอเต็ตส์, เปียโน ควอเต็ตส์, เปียโน ควินเต็ตส์, เปียโน คอนแชร์โต, ไวโอลิน คอนแชร์โต, ฟลุต คอนแชร์โต, อุปรากร 22 เรื่อง ซิมโฟนี 41 เพลง รุ่นสุดท้าย 3 เพลง สำเร็จลงระหว่างฤดูร้อนปีค.ศ.1788 ได้แก่ ซิมโฟนีนัมเบอร์ 39 อี แฟลต เมเจอร์, นัมเบอร์ 40 จี ไมเนอร์ และนัมเบอร์ 41 ซี เมเจอร์ ส่วนอุปรากรเรื่องสุดท้าย The Magic Flute เขียนปี 1971 ขณะป่วยและอยู่ในภาวะคับแค้นเรื่องครอบครัว แต่ท่วงทีทำนองลีลาของเพลงเต็มไปด้วยชีวิตชีวาร่าเริงแจ่มใสเขาพยายามแต่งเพลง Requiem (เพลงเกี่ยวกับงานศพ) ให้แก่เคานต์ลัวเซกก์ ซึ่งเป็นภรรยาผู้ล่วงลับ แต่งไปได้ไม่มากนักก็เสียชีวิตเสียก่อน เป็นอันว่าเพลง Requiem แต่งขึ้นเพื่องานศพของตนเอง วันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1791 ไทฟอยด์พรากโมซาร์ตจากไปด้วยวัยเพียง 35 ไม่มีญาติมิตรคนใดไปฝังศพของเขา คงปล่อยให้สัปเหร่อจัดการ ณ ป่าช้าสำหรับคนอนาถาที่เซนต์ มารุกซ์ กรุงเวียนนา ปิดฉากคีตกวีเอกชองโลกอย่างเงียบเหงาเศร้าสร้อย
วันจันทร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2552
เกร็ดความรู้เกี่ยวกับดนตรี
Basic
สิ่งที่น่ารู้ก่อนหัดเล่น guitar
Mode มีทั้งหมด 7 mode
1.C: Ionian หรือ C major scale
-C,D,E,F,G,A,B,C
2.D : Dorian
-D,E,F,G,A,B,C,D
3.E : Phrygian
-E,F,G,A,B,C,D,E
4.F : Lydian
-F,G,A,B,C,D,E,F
5.G :Mixolydian
-G,A,B,C,D,E,F,G
6.A : Aeolian (A minor natural)
-A,B,C,D,E,F,G,A
7.B :Locrian
-B,C,D,E,F,G,A,B
Pentatonic Scale
เอาตัวโน๊ตตัวที่4 กับ7 ของmajor scale ออกเฃ่น
C major- C,D,E,F,G,A,B,C
- 1 2 3 4 5 6 7 8
ตัด f กับ b ออกก็จะเป็น c major pantatonic
Minor Scale
ตัวโน๊ตตัวที่ 3 ของ major scale จะต่ำกว่าธรรมดาครึ่งเสียง
ตัวอย่าง
C Major Scale : C,D,E,F,G,A,B,C
C Minor Scale : C,D,Eb,F.G.A.B.C
จาก Eก็กลายเป็น Eb เมื่ออยู่ทางminor scale
สิ่งที่น่ารู้ก่อนหัดเล่น guitar
Mode มีทั้งหมด 7 mode
1.C: Ionian หรือ C major scale
-C,D,E,F,G,A,B,C
2.D : Dorian
-D,E,F,G,A,B,C,D
3.E : Phrygian
-E,F,G,A,B,C,D,E
4.F : Lydian
-F,G,A,B,C,D,E,F
5.G :Mixolydian
-G,A,B,C,D,E,F,G
6.A : Aeolian (A minor natural)
-A,B,C,D,E,F,G,A
7.B :Locrian
-B,C,D,E,F,G,A,B
Pentatonic Scale
เอาตัวโน๊ตตัวที่4 กับ7 ของmajor scale ออกเฃ่น
C major- C,D,E,F,G,A,B,C
- 1 2 3 4 5 6 7 8
ตัด f กับ b ออกก็จะเป็น c major pantatonic
Minor Scale
ตัวโน๊ตตัวที่ 3 ของ major scale จะต่ำกว่าธรรมดาครึ่งเสียง
ตัวอย่าง
C Major Scale : C,D,E,F,G,A,B,C
C Minor Scale : C,D,Eb,F.G.A.B.C
จาก Eก็กลายเป็น Eb เมื่ออยู่ทางminor scale
การคิดเชิงบวก
ความหมายของการคิดเชิงบวก การคิดเชิงบวก หมายความว่า จะต้องพยายามหามุมมองที่แตกต่างออกไปจากมุมมองปกติที่เราเคยมองให้มันเป็นบวกให้มันเป็นประโยชน์กับชีวิตของเราและก็เป็นประโยชน์กับชีวิตของคนอื่นด้วย เนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจหรือว่าสภาพของสังคมสับสนโดยเฉพาะยุคนี้เราจะเห็นว่ามีอะไร ๆ ที่วุ่นวายเกิดขึ้นในชีวิตของเรามากจริง ๆ เลย ไม่ว่าจะเป็นชีวิตส่วนตัว ชีวิตการทำงานชีวิตในสังคม หรือแม้แต่ชีวิตของคนที่อยู่รอบ ๆ ข้างล้วนทำให้เราขาดความสุข มีความเครียด ทำอย่างไรเราจะคิดให้ตัวเรามีความสุขเพิ่มขึ้น หรืออย่างน้อยที่สุดก็ไม่ทุกข์ให้มากขึ้นกว่านี้ หรือมีความทุกข์น้อยลง อะไรที่เป็นสภาพการณ์หรือเหตุการณ์วิกฤตให้มองหาแง่มุมดี ๆ ยกตัวอย่างเช่น เราทำงานหนักมากเลยในช่วงชีวิตตอนนี้ ถ้าเรามัวแต่คิดในเชิงลบว่า “ตายแล้ว ชีวิตนี้ฉันแย่แน่เลยไม่สามารถจะมีความสุขอย่างคนอื่นได้ เพราะต้องทำงานทุกวัน ๆ ทำไมคนอื่นเขาช่างสบาย” พอคิดอย่างนี้เราก็เกิดท้อแท้ ลองคิดใหม่มองอีกมุมหนึ่ง ถ้าทำงานได้ทุกวัน ทำงานหนักกว่าคนอื่น แปลว่าเรามีความสามารถ เป็นคนที่มีคุณค่า และการทำงานมากทำงานหนักนี้เองจะช่วยให้เรามีประสบการณ์มากกว่าคนอื่น งานที่จะทำให้เกิดผลงานและงานนั้นก็จะช่วยให้เรามีสิ่งตอบแทนตามมา มีงานมากดีกว่าไม่มีงานทำ เพราะฉะนั้นถ้าเราคิดได้อย่างนี้เราก็จะมาจัดระบบงานของเราให้ดีขึ้น งานมีเยอะก็จริง จะทำงานไหนก่อนดี งานไหนเป็นงานที่จำเป็นจะต้องทำก่อน งานไหนเป็นงานที่ต้องทำหลัง แล้วค่อยๆ ทำไปทีละงาน ๆ ในที่สุดงานก็จะน้อยลง ถ้าไม่ไปรับงานเพิ่มให้มันมากขึ้นอีก หรือเราคิดว่าเราจัดระบบได้ดีเราก็ไปรับงานเพิ่มขึ้นได้อีก นี่คือมุมมองหนึ่งของการคิดเชิงบวก ถ้าเมื่อไรเราคิดเชิงบวกเราจะมีความสุขคนที่มีความสุขชีวิตมีคุณภาพ เพราะว่าถ้ามีสุขภาพจิตที่ดีแล้วก็สามารถมีพลังต่อสู้กับชีวิตได้ดีขึ้น ความสำคัญของการคิดเชิงบวก การคิดเชิงบวกเป็นการหามุมมองที่เป็นบวก มุมมองที่ทำให้เรานั้นมีแง่คิดที่ดี มุมมองที่ทำให้เรามีกำลังใจ มุมมองที่ทำให้เรารู้สึกมีความทุกข์น้อยลง มุมมองที่ทำให้เรามีความสุขมากขึ้น มีแรงจูงใจที่จะต่อสู้กับชีวิต ที่จะเผชิญชีวิต หรือที่จะอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เพราะฉะนั้นถ้าสามารถคิดในเชิงบวกได้ตลอดเวลา แปลว่าสามารถมีชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณภาพและความสุข วิธีการพัฒนาการคิดเชิงบวกก่อนอื่นต้องฝึกการคิดเชิงบวก ยกตัวอย่างเช่น เวลาที่มีใครมาพูดกับเราไม่สุภาพ เราจะรู้สึกโกรธทันทีแต่ถ้าเราฝึกคิดนิดหนึ่งว่า การพูดไม่สุภาพของเขามันช่างไม่น่าฟังเลย จะเป็นข้อดีกับเราได้อย่างดีเลยว่าเราจะไม่พูดคำนี้กับใครอีก เพราะถ้าเราพูดกับคนอื่นเขาคงคิดไม่ดีกับเราแบบนี้ เพราะฉะนั้นดีนะที่คน ๆ นี้ มาพูดแบบนี้กับเราทำให้เรารู้สึกว่า
เราจะไม่พูดแบบนี้กับคนอื่น เห็นไหมแทนที่จะโกรธเขากลับทำให้เรารู้สึกว่าเรามีกระจกเงาที่มาสะท้อนให้เราเห็นก่อนที่เราจะไปทำอะไรที่ไม่ดีนั้น เราก็จะสบายใจไม่ต้องไปกังวลกับสิ่งที่เขาว่าเรา เพียงแต่เราต้องไม่ทำอย่างที่เขาว่าเรา การคิดเชิงบวกก็จะมีความสุขมากกว่าไปโกรธ หัดคิดเชิงบวกบ่อย ๆ ปกติคนเรามักจะมองอะไรเป็นเชิงลบเสมอ เวลาที่ใครพูดถึงตัวของเราไม่ดีเราจะโกรธ การโกรธเป็นการสกัดกั้นการพัฒนาตนเอง เพราะฉะนั้นเวลาที่ใครว่าอะไรเรา เรากลับมาคิดอีกมุมหนึ่งว่าเขาเตือนเราหรือเปล่า เขาบอกอะไรเราหรือเปล่าจะเป็นการช่วยพัฒนาตัวเราเองให้ดีขึ้น ตัวอย่างการคิดเชิงบวกที่เห็นเป็นรูปธรรม ช่วงนี้เป็นช่วงเปิดเทอมผู้ปกครองหลายคนมีความเครียด ทั้งในแง่ของการเตรียมลูกโดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเป็นลูกเล็ก ๆ จะเตรียมลูกไปโรงเรียนอย่างไรดีวันแรกลูกรักของเราถึงจะไม่ร้องไห้ เราก็ต้องคิดในเชิงบวกว่า การไปโรงเรียนของลูกเรานั้นแม้ว่าจะอยู่ห่างกัน แม้ว่าจะร้องไห้งอแง แต่มันก็เป็นประสบการณ์ชีวิตถ้าเขาจะเริ่มได้เรียนรู้ เพราะฉะนั้นเวลาที่ไปส่งลูกแล้วลูกร้องไห้ อย่าใจอ่อน อย่าตามใจ แต่ให้มองดูลูกอย่างภาคภูมิใจว่าลูกกำลังได้รับประสบการณ์ชีวิตซึ่งเป็นประสบการณ์ที่เขาต้องต่อสู้กับการอยู่ห่างกับพ่อแม่ชั่วขณะ และข้อสำคัญจะต้องให้เขามั่นใจว่าการห่างกันนั้นเป็นเพียงชั่วคราวเท่านั้น เดี๋ยวเราก็จะพบกันใหม่เพื่อให้ลูกมั่นใจ และก็ฝึกตนเอง ที่จะอยู่ตามลำพังกับคนอื่นโดยไม่มีพ่อแม่อยู่ด้วยชั่วคราวเป็นการเรียนรู้ชีวิต นี่เป็นเรื่องของการคิดเชิงบวกที่ฝึกกันได้ง่าย ๆ และเห็นกันชัด ๆ การคิดเชิงบวกเป็นเรื่องของการมองมุมที่เราไม่เคยมองโดยปกติประจำวัน โดยมุมที่เรามองนั้นจะเป็นมุมที่จะช่วยให้เราสบายใจขึ้น ความสบายใจถือว่าเป็นประโยชน์แก่ตัวเราเอง จะมีผลไปถึงประโยชน์ที่จะเกิดกับครอบครัวถ้าคนในครอบครัวของเราอยู่กันอย่างมีความสุข มองกันในแง่ดี ในเชิงบวก อะไรที่มันจะทำให้เดือดร้อนรำคาญใจก็เฉยเสีย หันไปมองในมุมที่ดีขึ้น แล้วจากการที่ครอบครัวมีความสุขนี้เองก็จะส่งผลไปถึงสังคมและประเทศชาติในที่สุด การคิดเชิงบวกนั้นมีความสำคัญกับคุณภาพชีวิต ทั้งในเชิงชีวิตส่วนตัวบุคคล ทั้งในเชิงชีวิตของครอบครัวที่เราเป็นสมาชิกอยู่ แล้วในเชิงคุณภาพชีวิตของสังคมที่เราเป็นสมาชิก
ความโกรธมีโทษร้ายแรง
ความโกรธที่ประทุษร้ายใจ
ทำให้เดือดร้อนกระวนกระวายใจ
เมื่อแรงขึ้นก็พยายามมุ่งร้ายผู้อื่น
โดยไม่เลือว่าผิดหรือถูก ไม่มีเหตุผล
จงมีสติ พิจารณาถึงอันตรายที่เกิดจากความเร่าร้อนของความโกรธ
คนหมื่นคนที่จ้องจะทำร้ายเราอยู่
ก็ไม่สู้ความโกรธที่กำลังทำร้ายเรา
ต้องพยายามลดความโกรธ
ด้วยการดูอาการเร่าร้อนที่เกิดขึ้นในใจ
จะช่วยละความโกรธได้
ดูจนกระทั่งความเร่าร้อนในใจหายไปด้วยความไม่โกรธ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)